ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.5) (โรบอต เพิ่ม: io, ko, ne, nn ลบ: da, de, nl, pt แก้ไข: ar, es, it, ja, zh
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
{{โครงความรู้}}
{{โครงความรู้}}


[[ar:كلية (جامعية)]]
[[ar:كلية (مؤسسة)]]
[[bg:Колеж]]
[[bg:Колеж]]
[[da:Seminarium]]
[[de:College]]
[[en:College]]
[[en:College]]
[[es:Colegio]]
[[es:College]]
[[es:College]]
[[es:Facultad]]
[[fi:College]]
[[fi:College]]
[[fr:Collège]]
[[fr:Collège]]
[[he:מכללה]]
[[he:מכללה]]
[[id:Kolese]]
[[id:Kolese]]
[[io:Kolegio]]
[[it:College]]
[[it:College]]
[[ja:単科大学と総合大学]]
[[it:Facoltà universitaria]]
[[ja:単科大学]]
[[ka:კოლეჯი]]
[[ka:კოლეჯი]]
[[nl:Hogeschool]]
[[ko:단과대학]]
[[ne:महाविद्यालय]]
[[nn:College]]
[[no:College]]
[[no:College]]
[[pl:College]]
[[pl:College]]
[[pt:Faculdade]]
[[ru:Колледж]]
[[ru:Колледж]]
[[simple:College]]
[[simple:College]]
บรรทัด 51: บรรทัด 48:
[[ur:دانشگاہ]]
[[ur:دانشگاہ]]
[[yi:קאלעדזש]]
[[yi:קאלעדזש]]
[[zh:學院]]
[[zh:學院 (學校)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:49, 14 เมษายน 2554

วิทยาลัย (อังกฤษ: college) มีหลายความหมาย ความหมายหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในสังคมไทย หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการฝึกทักษะเฉพาะสาขาวิชา เช่น การจัดการ เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ช่าง ดนตรี เป็นต้น

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยนั้นอาจจะบริหารงานเป็นเอกเทศ เช่น วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า, วิทยาลัยเทคนิค, และวิทยาลัยอาชีวศึกษา หรือ เป็นหน่วยในสังกัดของมหาวิทยาลัย เช่น วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต, วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล, วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล,วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ,วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ และวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็ได้

อีกความหมายหนึ่งของวิทยาลัยนั้น อาจจะหมายถึง สถานศึกษาทั่ว ๆ ไป เช่น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย หรือ ในชื่อภาษาอังกฤษของโรงเรียน เช่น อัสสัมชัญ (Assumption College) หรือ เซนต์คาเบรียล (St. Gabriel's College) เป็นต้น

วิทยาลัยชุมชน

วิทยาลัยชุมชน เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดสอนในระดับอนุปริญญา และหลักสูตรระยะสั้น ตามความต้องการของชุมชนเป็นหลัก โดยมีการจัดตั้งขึ้นในจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา

ดูเพิ่ม