ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนกิตติพงษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''ปลากระเบนกิตติพงษ์''' หรือ '''ปลากระเบนแม่กลอง''' [[ปลากระเบน]]น้ำจืดชนิดใหม่ของโลก มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Himantura kittipongi'' อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนธง]] (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป ต่างกันที่ด้านหลังจะมี[[สีน้ำตาล]]เข้มอม[[สีเหลือง|เหลือง]] รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ ส่วนลำตัวมีขนาดใหญ่สุดประมาณ 60 [[เซนติเมตร]] และจำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14 - 15 แถว
'''ปลากระเบนกิตติพงษ์''' หรือ '''ปลากระเบนแม่กลอง''' [[ปลากระเบน]]น้ำจืดชนิดใหม่ของโลก มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Himantura kittipongi'' อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนธง]] (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป ต่างกันที่ด้านหลังจะมี[[สีน้ำตาล]]เข้มอม[[สีเหลือง|เหลือง]] รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ ส่วนลำตัวมีขนาดใหญ่สุดประมาณ 60 [[เซนติเมตร]] และจำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14 - 15 แถว


ค้นพบตัวอย่างตัวแรกโดย นาย[[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2547]] และถูกได้ศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลทาง[[อนุกรมวิธาน]]โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] นักวิทยาศาสตร์ชาวไทยแห่ง[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] และ ดร.[[ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์]] และได้ตั้งชื่อ[[สปีชีส์|ชนิด]] ตามชื่อของผู้ค้นพบ
ค้นพบ[[ตัวอย่างต้นแบบแรก|ตัวอย่างตัวแรก]]โดย นาย[[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] จากนั้นในปี [[พ.ศ. 2547]] ได้ศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลทาง[[อนุกรมวิธาน]]โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] นักวิทยาศาสตร์ชาวไทยแห่ง[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] และ ดร.[[ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์]] และได้ตั้งชื่อ[[สปีชีส์|ชนิด]] ตามชื่อของผู้ค้นพบ


เท่าที่ศึกษา แหล่งอาศัยของกระเบนชนิดนี้มีหลายแห่งในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ ปริเวณ[[ปากแม่น้ำ|ปาก]][[แม่น้ำแม่กลอง]]แถบ[[จังหวัดกาญจนบุรี]] แม่น้ำน่าน และแม่น้ำปาหัง ประเทศมาเลเซีย โดยชาวบ้านในจังหวัดกาญจนบุรีเรียกว่า "กระเบนเหลือง"
เท่าที่ศึกษา แหล่งอาศัยของกระเบนชนิดนี้มีหลายแห่งในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ ปริเวณ[[ปากแม่น้ำ|ปาก]][[แม่น้ำแม่กลอง]]แถบ[[จังหวัดกาญจนบุรี]] แม่น้ำน่าน และแม่น้ำปาหัง ประเทศมาเลเซีย โดยชาวบ้านในจังหวัดกาญจนบุรีเรียกว่า "กระเบนเหลือง"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:00, 12 เมษายน 2554

กระเบนแม่กลอง
ไฟล์:Imageแม่กลอง.jpg
ตัวอย่างปลา
ไฟล์:GetAttachmentx.jpg
ในตู้เลี้ยง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
อันดับ: Myliobatiformes
วงศ์: Dasyatidae
สกุล: Himantura
สปีชีส์: H.  kittipongi
ชื่อทวินาม
Himantura kittipongi
(Vidthayanon & Roberts, 2005)

ปลากระเบนกิตติพงษ์ หรือ ปลากระเบนแม่กลอง ปลากระเบนน้ำจืดชนิดใหม่ของโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Himantura kittipongi อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป ต่างกันที่ด้านหลังจะมีสีน้ำตาลเข้มอมเหลือง รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ ส่วนลำตัวมีขนาดใหญ่สุดประมาณ 60 เซนติเมตร และจำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14 - 15 แถว

ค้นพบตัวอย่างตัวแรกโดย นายกิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2545 จากนั้นในปี พ.ศ. 2547 ได้ศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลทางอนุกรมวิธานโดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์ นักวิทยาศาสตร์ชาวไทยแห่งกองทุนสัตว์ป่าโลก และ ดร.ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ และได้ตั้งชื่อชนิด ตามชื่อของผู้ค้นพบ

เท่าที่ศึกษา แหล่งอาศัยของกระเบนชนิดนี้มีหลายแห่งในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ ปริเวณปากแม่น้ำแม่กลองแถบจังหวัดกาญจนบุรี แม่น้ำน่าน และแม่น้ำปาหัง ประเทศมาเลเซีย โดยชาวบ้านในจังหวัดกาญจนบุรีเรียกว่า "กระเบนเหลือง"

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น