ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเยสุอิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ใช้ปีคศ|width=250px}}
<!--หมายเหตุสำหรับผู้ตั้งใจจะเปลี่ยนหรือเพิ่มหัวข้อ: กรุณาอ่านหน้าอภิปราย->
<!--บทความนี้เป็นบทความกว้างๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และปรัชญาของลัทธิหรือนิกายที่กล่าว ซึ่งไม่เฉพาะเจาะจงเฉพาะท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งโดยเฉพาะ-->{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->


[[ไฟล์:Jesuitinas.jpg|thumb|right|250px|ตราของคณะเยสุอิต อักษร “IHS” ประกอบด้วยอักษรกรีกสามตัวแรกในคำว่า “IHΣOYΣ” ซึ่งหมายถึง[[พระเยซู]] ภายหลังมาตีความว่า “'''I'''esus '''H'''omini '''S'''alvator” (พระเยซูผู้ไถ่บาบให้มวลมนุษย์) หรือ “'''I'''esum '''H'''abemus '''S'''ocium” (เราผู้มีพระเยซูเป็นมิตร) หรือ “'''I'''esu '''H'''umilis '''S'''ocietas” (สมาคมผู้อ่อนน้อมแห่งพระเยซู)]]
[[ไฟล์:Jesuitinas.jpg|thumb|right|250px|ตราของคณะเยสุอิต อักษร “IHS” ประกอบด้วยอักษรกรีกสามตัวแรกในคำว่า “IHΣOYΣ” ซึ่งหมายถึง[[พระเยซู]] ภายหลังมาตีความว่า “'''I'''esus '''H'''omini '''S'''alvator” (พระเยซูผู้ไถ่บาบให้มวลมนุษย์) หรือ “'''I'''esum '''H'''abemus '''S'''ocium” (เราผู้มีพระเยซูเป็นมิตร) หรือ “'''I'''esu '''H'''umilis '''S'''ocietas” (สมาคมผู้อ่อนน้อมแห่งพระเยซู)]]

'''คณะแห่งพระเยซูเจ้า'''<ref name="คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)">[http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]. หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> ([[ภาษาอังกฤษ]]: Society of Jesus; [[ภาษาละติน]]: Societas Iesu หรือ “S.J.” หรือ “S.I.”) หรือที่มักรู้จักกันในนาม '''คณะเยสุอิต''' หรือ '''คณะเยซูอิต''' (Jesuits)<ref name="คณะเยสุอิตประเทศไทย">[http://www.sjthailand.org/ คณะเยสุอิตประเทศไทย]. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ที่ก่อตั้งโดย[[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]]เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักบวชในคณะนี้เรียกว่า “นักบวชเยสุอิต” หรือ “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเป็นอัศวินมาก่อนที่จะบวช
'''คณะแห่งพระเยซูเจ้า'''<ref name="คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)">[http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]. หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> ({{lang-en|Society of Jesus}}; {{lang-la|Societas Iesu หรือ “S.J.” หรือ “S.I.”}}) หรือที่มักรู้จักกันในนาม '''คณะเยสุอิต''' หรือ '''คณะเยซูอิต''' (Jesuits)<ref name="คณะเยสุอิตประเทศไทย">[http://www.sjthailand.org/ คณะเยสุอิตประเทศไทย]. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ที่ก่อตั้งโดย[[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]]เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักบวชในคณะนี้เรียกว่า “นักบวชเยสุอิต” หรือ “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเป็นอัศวินมาก่อนที่จะบวช


ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริม[[วัฒนธรรม]] นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนด้วย
ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริม[[วัฒนธรรม]] นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนด้วย


==การก่อตั้ง==
== การก่อตั้ง ==
เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 [[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]] พระชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจากมหาวิทยาลัยปารีสที่มาจากบริเวณ[[บาสค์]]ด้วยกันในประเทศสเปน ([[นักบุญฟรังซิส ซาเวียร์|ฟรันซิสโก ฆาเบียร์]] (Francisco Xavier), อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron), ดิเอโก ลาอิเนซ (Diego Laínez), นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)), ปีเตอร์ เฟเบอร์ (Peter Faber) จากซาวอย ประเทศฝรั่งเศส, และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จากโปรตุเกส) พบกันที่[[มองมาร์ต]]ภายใน[[คริพท์]]ของชาเปลเซนตเด็นนิสนอกเมือง[[ปารีส]] ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณต่อความความยากจนและการถือพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่[[กรุงเยรูซาเลม]] หรือเพื่อไปยังที่ใดๆ ที่[[พระสันตะปาปา]]มึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”
เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 [[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]] พระชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจากมหาวิทยาลัยปารีสที่มาจากบริเวณ[[บาสค์]]ด้วยกันในประเทศสเปน ([[นักบุญฟรังซิส ซาเวียร์|ฟรันซิสโก ฆาเบียร์]] (Francisco Xavier), อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron), ดิเอโก ลาอิเนซ (Diego Laínez), นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)), ปีเตอร์ เฟเบอร์ (Peter Faber) จากซาวอย ประเทศฝรั่งเศส, และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จากโปรตุเกส) พบกันที่[[มองมาร์ต]]ภายใน[[คริพท์]]ของชาเปลเซนตเด็นนิสนอกเมือง[[ปารีส]] ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณต่อความความยากจนและการถือพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่[[กรุงเยรูซาเลม]] หรือเพื่อไปยังที่ใดๆ ที่[[พระสันตะปาปา]]มึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”


บรรทัด 19: บรรทัด 18:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[นิกายโรมันคาทอลิก]]
* [[นิกายของคริสต์ศาสนา]]
* [[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]]
* [[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]]
* [[คณะนักบวชคาทอลิก]]
* [[คณะนักบวชคาทอลิก]]


==แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.sjthailand.org/ เว็บไชต์ทางการของคณะเยสุอิตประเทศไทย]
* [http://www.sjthailand.org/ เว็บไชต์ทางการของคณะเยสุอิตประเทศไทย]
* [http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html/ คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]
* [http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html/ คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]
* [http://en.wikisource.org/wiki/Catholic_Encyclopedia_%281913%29/The_Society_of_Jesus ลัทธิเยซูอิด (Catholic Encyclopedia)]
* [http://en.wikisource.org/wiki/Catholic_Encyclopedia_%281913%29/The_Society_of_Jesus ลัทธิเยซูอิด (Catholic Encyclopedia)]


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:โรมันคาทอลิก]]
[[หมวดหมู่:คณะนักบวชคาทอลิก|ยเยซูเจ้า]]
{{โครงศาสนาคริสต์}}
{{โครงศาสนาคริสต์}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:40, 10 เมษายน 2554

ตราของคณะเยสุอิต อักษร “IHS” ประกอบด้วยอักษรกรีกสามตัวแรกในคำว่า “IHΣOYΣ” ซึ่งหมายถึงพระเยซู ภายหลังมาตีความว่า “Iesus Homini Salvator” (พระเยซูผู้ไถ่บาบให้มวลมนุษย์) หรือ “Iesum Habemus Socium” (เราผู้มีพระเยซูเป็นมิตร) หรือ “Iesu Humilis Societas” (สมาคมผู้อ่อนน้อมแห่งพระเยซู)

คณะแห่งพระเยซูเจ้า[1] (อังกฤษ: Society of Jesus; ละติน: Societas Iesu หรือ “S.J.” หรือ “S.I.”) หรือที่มักรู้จักกันในนาม คณะเยสุอิต หรือ คณะเยซูอิต (Jesuits)[2] เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่ก่อตั้งโดยนักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักบวชในคณะนี้เรียกว่า “นักบวชเยสุอิต” หรือ “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเป็นอัศวินมาก่อนที่จะบวช

ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริมวัฒนธรรม นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนด้วย

การก่อตั้ง

เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา พระชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจากมหาวิทยาลัยปารีสที่มาจากบริเวณบาสค์ด้วยกันในประเทศสเปน (ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ (Francisco Xavier), อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron), ดิเอโก ลาอิเนซ (Diego Laínez), นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)), ปีเตอร์ เฟเบอร์ (Peter Faber) จากซาวอย ประเทศฝรั่งเศส, และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จากโปรตุเกส) พบกันที่มองมาร์ตภายในคริพท์ของชาเปลเซนตเด็นนิสนอกเมืองปารีส ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณต่อความความยากจนและการถือพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่กรุงเยรูซาเลม หรือเพื่อไปยังที่ใดๆ ที่พระสันตะปาปามึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”

กลุ่มนี้เรียกตนเองว่า “กองกำลังพระเยซู” (Company of Jesus) เพราะผู้เป็นสมาชิกมีความรู้สึกว่าที่มาพบปะกันได้ก็เป็นเพราะอำนาจของพระเยซู คำว่า “กองกำลัง” เป็นนัยมาจากศัพท์ที่ใช้ในการเรียกกองทหาร และยังมาถึงความเป็นสาวกหรือผู้ติดตามของพระเยซู คำว่า “Company” มาจากภาษาละติน “cum” และ “pane” ซึ่งแปลว่า “bread with” หรือผู้ที่กินอาหารด้วยกัน

การพบกันครั้งนี้นำไปสู่การก่อตั้งกลุ่มที่ต่อมาในปี ค.ศ. 1540 เรียกตนเองว่า “Society of Jesus” คำว่า “societas” ในภาษาละตินมาจากคำว่า “socius” หรือ “ผู้ร่วม” หรือ “สหาย” ในปี ค.ศ. 1537 กลุ่มนี้ก็เดินทางไปประเทศอิตาลีเพื่อยึ่นคำขออนุมัติการตั้งลัทธิใหม่ต่อพระสันตะปาปา สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3ทรงอนุมัติและอนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มนั้นรับศีลเป็นนักบวช

สมาชิกในกลุ่มนั้นจึงทำการรับศีลเป็นนักบวชที่เวนิสโดยมุขนายกแห่งอาร์บเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน หลังจากนั้นนักบวชกลุ่มก็อุทิศตัวให้กับการเทศนาและการช่วยงานการกุศลในประเทศอิตาลึ เพราะไม่สามารถเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมได้ตามที่ตั้งใจ เพราะขณะนั้นระหว่างปี ค.ศ. 1535 ถึงปี ค.ศ. 1538 เป็นระยะเวลาสงครามระหว่างจักรพรรดิชาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, เวนิส, และพระสันตะปาปา กับ จักรวรรดิออตโตมัน ทำให้การเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมเป็นไปไม่ได้

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

  1. คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต). หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.
  2. คณะเยสุอิตประเทศไทย. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.


แม่แบบ:Link FA