ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"

พิกัด: 38°19′19″N 142°22′08″E / 38.322°N 142.369°E / 38.322; 142.369
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thejeang (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
==== ความสูญเสีย ====
==== ความสูญเสีย ====
ในเหตุการณ์ครั้งนี้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 19 ราย<ref>{{cite web|title=Huge tsunami slams coastal Japan after quake {{!}} Al Jazeera|http://english.aljazeera.net/watch_now/}}</ref>
ในเหตุการณ์ครั้งนี้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 19 ราย<ref>{{cite web|title=Huge tsunami slams coastal Japan after quake {{!}} Al Jazeera|http://english.aljazeera.net/watch_now/}}</ref>
จังหวัดมิยากิ(20.48น.)พบศพแล้ว200-300ศพ <ref>http://twitter.com/nnanews/statuses/46204268084080642</ref>


==== ตลาดหลักทรัพย์ ====
==== ตลาดหลักทรัพย์ ====

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:49, 11 มีนาคม 2554

แผ่นดินไหวและสึนามิในเซ็นได พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554ตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554
เวลาสากลเชิงพิกัด??
รหัสเหตุการณ์ ISC
USGS-ANSS
วันที่*11 มีนาคม พ.ศ. 2554
[[Category:EQ articles using 'date' or 'time'
(deprecated)]]
เวลา*05:46:23 UTC
(14:46 ท้องถิ่น)
[[Category:EQ articles using 'origintime'
(deprecated)]]
วันที่ท้องถิ่น
เวลาท้องถิ่น
ขนาด8.9 ริกเตอร์
ความลึก24 กม.
ศูนย์กลาง38°19′19″N 142°22′08″E / 38.322°N 142.369°E / 38.322; 142.369
ประเภทแผ่นดินไหวเป็นผลให้เกิดสึนามิ
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบญี่ปุ่น
ความเสียหายทั้งหมดยังไม่ทราบ
สึนามิใช่
แผ่นดินไหวตามอย่างน้อย 37 ครั้ง (14 ครั้งมากกว่า 6.0 แมกนิจูด)
ผู้ประสบภัยมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 40 ราย, ผู้สูญหาย 45 ราย[1]
เลิกใช้แล้ว ดูเอกสาร

แผ่นดินไหวและสึนามิในเซ็นได พ.ศ. 2554 วัดระดับแผ่นดินไหวได้ 8.9 ริกเตอร์ ส่งผลให้เกิดคลื่นยักษ์สึนามิ ความสูง 10 เมตร (33 ฟุต)[2]

จากแรงสั่นสะเทือน 8.9 ริกเตอร์ ส่งผลให้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น[2] และเป็นเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงเป็นอันดับเจ็ดของโลกเท่าที่มีการบันทึกมา[3]

แผ่นดินไหว

A view across the city of Toyko, with a burning building in the distance
ผลพวงจากการเกิดแผ่นดินไหวในกรุงโตเกียว

แผ่นดินไหวเกิดขึ้นในระยะ 130 กม. (80 ไมล์) ทางตะวันออกของเซ็นได ฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นไปได้ว่าจะเกิดคลื่นสึนามิในหลายประเทศรวมทั้งประเทศญี่ปุ่น ศูนย์กลางที่เกิดอยู่ห่างจากกรุงโตเกียว 373 กม. (231 ไมล์) ฝ่ายสำรวจธรณีวิทยากล่าวว่าหลังจากการสั่นสะเทือนครั้งแรกผ่านไป 30 นาที มีอาฟเตอร์ช็อคเกิดขึ้นที่ระดับ 7.7

จากผลของการสั่นสะเทือน ได้มีควันลอยขึ้นจากอาคารในท่าเรือโตเกียว ในขณะที่ขบวนรถไฟชินกันเซ็นหยุดวิ่ง (ไม่มีการรายงานความสูญเสีย) และท่าอากาศยานฮาเนดะได้ระงับการดำเนินการทันทีหลังจากเกิดการสั่นสะเทือน[4] การให้บริการรถไฟสายต่างๆในประเทศญี่ปุ่นยังได้รับการยกเลิก และเกิดเปลวเพลิงขนาดใหญ่ปะทุขึ้นในโรงกลั่นน้ำมันในอิชิฮาระ จังหวัดชิบะ

นะโอะโตะ คังซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศญี่ปุ่นได้กล่าวว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้ปิดตัวลง แต่ไม่มีสารกัมมันตภาพรังสีรั่วไหลแต่อย่างใด[5]

สึนามิ

หลังจากเกิดแผ่นดินไหวแล้วมีสำนักข่าวรายงานว่าเกิดคลื่นสึนามิสูง 10 เมตรพัดถล่มในพื้นที่ จังหวัดมิยะงิ จังหวัดฟุกุชิมะ และเมืองเซ็นได พัดพาเอาบ้านเรือนประชาชน รถยนต์และรถบรรทุกจำนวนมากลงสู่ทะเล[6]

กวม

ฮาวาย

ทางรัฐบาลของฮาวายได้สั่งให้มีอารอพยพผู้คนออกจากพื้นที่ชายฝั่งทะเลเนื่องจากภัยสึนามิ โดยมีการกระตุ้นให้ย้ายขึ้นสู่พื้นที่สูงไม่น้อยกว่า 50 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล และไม่น้อยกว่า 100 ฟุตเหนือระดับน้ำจืด[7]

พื้นที่เสี่ยง

ผลกระทบ

ความสูญเสีย

ในเหตุการณ์ครั้งนี้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 19 ราย[8] จังหวัดมิยากิ(20.48น.)พบศพแล้ว200-300ศพ [9]

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดหลักทรัพย์นิคเคอิของญี่ปุ่นปรับตัวลดลง 5% หลังจากทำการซื้อขายในตลาด[10]

การให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศ

  • เดวิด คาเมรอน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ได้ประสานไปยังญี่ปุ่นว่าสามารถให้การช่วยเหลือใดได้บ้าง[11]
  • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีประเทศไทย ระบุข้อความแสดงความเสียใจไปยังนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นว่าประเทศไทยพร้อมให้การช่วยเหลือในการบรรเทาผลกระทบจากสึนามิ[12]
  • ดมีตรี เมดเวเดฟ ประธานาธิบดีรัสเซีย กล่าวว่ารัสเซียจะให้ความช่วยเหลือเพื่อนบ้านให้สามารถเอาชนะผลกระทบที่มาจากแผ่นดินไหว[13]

อ้างอิง

  1. 11 March 2011, AFP, Update: Japan quake toll reaches 32: reports, The Business Times
  2. 2.0 2.1 "Magnitude 8.9 – NEAR THE EAST COAST OF HONSHU, JAPAN 2011 March 11 05:46:23 UTC". United States Geological Survey (USGS). สืบค้นเมื่อ 11 March 2011.
  3. "Japan quake – 7th largest in recorded history". 11 March 2011. สืบค้นเมื่อ 11 March 2011.
  4. "Japan issues top tsunami warning after major quake". MediaCorp Channel NewsAsia. 11 March 2011. สืบค้นเมื่อ 11 March 2011.
  5. "Tsunami Hits Japan After 8.9 Megaquake". Sky News. 2011-03-11. สืบค้นเมื่อ 2011-03-11.
  6. แผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ที่ญี่ปุ่น
  7. http://www.reuters.com/article/2011/03/11/us-japan-quake-tsunami-hawaii-idUSTRE72A1OW20110311
  8. "Huge tsunami slams coastal Japan after quake | Al Jazeera". {{cite web}}: |url= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help); ข้อความ "http://english.aljazeera.net/watch_now/" ถูกละเว้น (help)
  9. http://twitter.com/nnanews/statuses/46204268084080642
  10. Japan earthquake: market reaction
  11. Tsunami hits Japan after massive quake
  12. นายกรัฐมนตรีแสดงความเสียใจที่ประเทศญี่ปุ่นประสบภัยพิบัติจากคลื่นยักษ์สึนามิ
  13. http://hosted.ap.org/dynamic/stories/E/EU_RUSSIA_TSUNAMI, AP News, 11 March 2011

แหล่งข้อมูลอื่น