ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวตัน (หน่วยวัด)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5) (โรบอต ลบ: pt:Newton
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5) (โรบอต เพิ่ม: pt:Newton (unidade)
บรรทัด 79: บรรทัด 79:
[[pl:Niuton]]
[[pl:Niuton]]
[[pnb:نیوٹن (ناپ)]]
[[pnb:نیوٹن (ناپ)]]
[[pt:Newton (unidade)]]
[[ro:Newton]]
[[ro:Newton]]
[[roa-tara:Newton, aunità de mesure]]
[[roa-tara:Newton, aunità de mesure]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:28, 3 มีนาคม 2554

นิวตัน (สัญลักษณ์ : N) ในวิชาฟิสิกส์ เป็นหน่วยเอสไอของแรง ชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นตามชื่อของเซอร์ไอแซก นิวตัน เพื่อระลึกถึงผลงานของเขาในสาขาฟิสิกส์แบบฉบับ หน่วยนี้มีการใช้เป็นครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการจาก General Conference on Weights and Measures (CGPM) ให้เป็นชื่อหน่วยเอ็มเคเอสของแรงจนกระทั่งปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)

แรงหนึ่งนิวตัน นิยามไว้เท่ากับปริมาณของแรงที่ต้องการสำหรับการเร่งมวลหนึ่งกิโลกรัมให้มีความเร่งเท่ากับหนึ่งเมตรต่อวินาทีกำลังสอง

นิวตันเป็นหน่วยเอสไออนุพันธ์ ซึ่งประกอบขึ้นจากหน่วยเอสไอหลัก kg × m × s-2


    คณิตศาสตร์ สูตรสากล   


การแปลงหน่วย

หน่วยของแรง
นิวตัน
(หน่วยเอสไอ)
ดายน์ แรงกิโลกรัม,
กิโลปอนด์
แรงปอนด์ ปอนเดิล
1 N ≡ 1 kg⋅m/s2 = 105 dyn ≈ 0.10197 kp ≈ 0.22481 lbf ≈ 7.2330 pdl
1 dyn = 10−5 N ≡ 1 g⋅cm/s2 ≈ 1.0197 × 10−6 kp ≈ 2.2481 × 10−6 lbf ≈ 7.2330 × 10−5 pdl
1 kp = 9.80665 N = 980665 dyn gn ⋅ (1 kg) ≈ 2.2046 lbf ≈ 70.932 pdl
1 lbf ≈ 4.448222 N ≈ 444822 dyn ≈ 0.45359 kp gn ⋅ (1 lb) ≈ 32.174 pdl
1 pdl ≈ 0.138255 N ≈ 13825 dyn ≈ 0.014098 kp ≈ 0.031081 lbf ≡ 1 lb⋅ft/s2
ค่าของ gn ตามที่ใช้ในนิยามของแรงกิโลกรัม ในที่นี้ใช้สำหรับหน่วยความโน้มถ่วงทั้งหมด