ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม''' เป็น[[กลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมือง]]ที่แยกตัวออกจาก[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]] ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2552]] มีจุดประสงค์เพื่อต่อต้าน[[อำมาตยาธิปไตย]]<ref>[http://breakingnews.quickze.com/readnews-122110-%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%8A.%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C.html แดงสยามผนึกนปช.ชูสถาบันกษัตริย์-โค่นระบบอำมาตย์]</ref>
'''เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม''' เป็น[[กลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมือง]]ที่แยกตัวออกจาก[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]] ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2552]] มีจุดประสงค์เพื่อต่อต้าน[[อำมาตยาธิปไตย]]<ref>[http://breakingnews.quickze.com/readnews-122110-%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%8A.%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C.html แดงสยามผนึกนปช.ชูสถาบันกษัตริย์-โค่นระบบอำมาตย์]</ref>


'''ความเป็นมา'''
หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค <ref>เดิม คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Council for Democratic Reform under Constitutional Monarchy (อักษรย่อ CDRM) ต่อมาได้ตัดคำว่า under Constitutional Monarchy ออก เพื่อไม่ให้สื่อต่างประเทศนำไปตีความว่า คณะปฏิรูปฯ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น Council for Democratic Reform (อักษรย่อ CDR) โดยยังคงใช้ชื่อภาษาไทยตามเดิม [2]</ref> ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนที่มี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี
หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค <ref>เดิม คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Council for Democratic Reform under Constitutional Monarchy (อักษรย่อ CDRM) ต่อมาได้ตัดคำว่า under Constitutional Monarchy ออก เพื่อไม่ให้สื่อต่างประเทศนำไปตีความว่า คณะปฏิรูปฯ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น Council for Democratic Reform (อักษรย่อ CDR) โดยยังคงใช้ชื่อภาษาไทยตามเดิม [2]</ref> ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนที่มี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี
ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง
ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:39, 24 กุมภาพันธ์ 2554

เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่แยกตัวออกจากแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2552 มีจุดประสงค์เพื่อต่อต้านอำมาตยาธิปไตย[1]

ความเป็นมา หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค [2] ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนที่มี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง

หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ได้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2551 พรรคพลังประชาชน (พรรคเพื่อไทย ในปัจจุบัน) ซึ่งสมาชิกพรรคส่วนใหญ่คือ อดีตสมาชิกพรรคไทยรักไทย ได้เสียงส่วนใหญ่เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี

แกนนำ

อ้างอิง

  1. แดงสยามผนึกนปช.ชูสถาบันกษัตริย์-โค่นระบบอำมาตย์
  2. เดิม คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Council for Democratic Reform under Constitutional Monarchy (อักษรย่อ CDRM) ต่อมาได้ตัดคำว่า under Constitutional Monarchy ออก เพื่อไม่ให้สื่อต่างประเทศนำไปตีความว่า คณะปฏิรูปฯ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น Council for Democratic Reform (อักษรย่อ CDR) โดยยังคงใช้ชื่อภาษาไทยตามเดิม [2]

แหล่งข้อมูลอื่น