ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยมี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี
หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยมี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี
ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง
ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง
หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ได้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2551 พรรคเพื่อไทย ซึ่งสมาชิกพรรคเพื่อไทย ส่วนใหญ่คือ สมาชิกพรรคไทยรักไทย ได้เสียงส่วนใหญ่เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี
หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ได้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2551 พรรคพลังประชาชน (เพื่อไทย) ซึ่งสมาชิกพรรคส่วนใหญ่คือ สมาชิกพรรคไทยรักไทย ได้เสียงส่วนใหญ่เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี


== แกนนำ ==
== แกนนำ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:14, 24 กุมภาพันธ์ 2554

เครือข่ายพลังประชาธิปไตยแดงสยาม เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่แยกตัวออกจากแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2552 มีจุดประสงค์เพื่อต่อต้านอำมาตยาธิปไตย[1]

หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันอังคารที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยคณะทหารที่มี พล.อ สนธิ บุญยรัตกลินเป็นผู้นำ ในนาม คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค ได้ทำการล้มล้างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยมี พ.ต.ท ด.ร ทักษิณ ชินวัตร (ในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการจัดตั้งคณะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น และประกาศใช้ในปี 2550 เพื่อบังคับใช้ในแผ่นดิน โดยลดบทบาทของฝ่ายการบริหาร และเพิ่มบทบาทฝ่ายตุลาการในการควบคุมฝ่ายบริหาร อีกทั้งลดบทบาทสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ให้เป็นการสรรหาจากฝ่ายผู้มีอำนาจ ซึ่งผิดหลักการเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญปี 2540 มีการยุบพรรคการเมืองฝ่ายตรงกันข้าม ตัดสิทธิ์คณะกรรมการพรรค เพื่อทำลายคู่ต่อสู้ทางการเมือง ที่เป็นฐานเสียงของ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และยังดำเนินคดีกับอดีตนายกรัฐมนตรี ด้วยข้อหาทุจริตจากการซื้อที่ดิน ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหารบ้านเมือง หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 ได้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2551 พรรคพลังประชาชน (เพื่อไทย) ซึ่งสมาชิกพรรคส่วนใหญ่คือ สมาชิกพรรคไทยรักไทย ได้เสียงส่วนใหญ่เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี

แกนนำ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น