ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามบินอุตรดิตถ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนกล่อง
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนกล่อง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox airport
{{กล่องข้อมูล สนามบิน
| name = สนามบินอุตรดิตถ์
| name = สนามบินอุตรดิตถ์
| image = ไฟล์:สนามบินอุตรดิตถ์.jpg
| image = ไฟล์:สนามบินอุตรดิตถ์.jpg
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| ICAO =
| ICAO =
| type = [[สนามบินพาณิชย์]], [[สนามบิน]][[กรมการขนส่งทางอากาศ]]
| type = [[สนามบินพาณิชย์]], [[สนามบิน]][[กรมการขนส่งทางอากาศ]]
| run by = [[กรมการขนส่งทางอากาศ]]
| run by = [[กรมการบินพลเรือน]]
| closest town = [[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์|อ.เมืองอุตรดิตถ์]], [[จังหวัดอุตรดิตถ์|อุตรดิตถ์]]
| closest town = [[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์|อ.เมืองอุตรดิตถ์]], [[จังหวัดอุตรดิตถ์|อุตรดิตถ์]]
| distance =
| distance =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:30, 26 มกราคม 2554

สนามบินอุตรดิตถ์
ไฟล์:สนามบินอุตรดิตถ์.jpg
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์, สนามบินกรมการขนส่งทางอากาศ
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
N/A 1,250 1,000 ลาดยาง

สนามบินอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ บ้านวังยาง หมู่ 2 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ไปทางถนนทางหลวง สายอุตรดิตถ์-เขื่อนสิริกิติ์ ประมาณ 15 กิโลเมตร

ประวัติ

เดิมเป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการขนส่งสารรัฐธรรมนูญจากจังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) มายังจังหวัดอุตรดิตถ์ และต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มี เที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน (ดอนเมือง-อุตรดิตถ์) แต่เนื่องจากไม่คุ้มทุนในการเดินทาง และมีผู้โดยสารน้อยเพราะคนส่วนใหญ่จะใช้การเดินทางโดยรถไฟแทนจึงยกเลิกสนามบินอุตรดิตถ์ไป ปัจจุบันสนามบินอุตรดิตถ์เป็นสนามบินร้างไม่มีเที่ยวบินพาณิชย์ เป็นเพียงที่ดินผืนเปล่าแต่ยังมีร่องรอยของการเคยเป็นสนามบินในอดีต ถึงแม้ว่าทางหน่วยงานราชการจะมีการรื้อฟื้นสนามบินนี้ขึ้นมาใหม่แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จเนื่องจากจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดเล็ก ประชาชนอยู่ในฐานะปานกลาง ค่าครองชีพต่ำจึงทำให้ต้องยุบเลิกโครงการไปตั้งแต่นั้นมา

สายการบินที่เคยให้บริการ

สนามบินอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน

ในปัจจุบันสนามบินอุตรดิตถ์ถูกปล่อยทิ้ง เคยมีสายการบินขอกิจการเพื่อไปสร้างสายการบิน เป็นบริษัทในเครือของดีแทค แต่บริษัทต่างๆ ต่างเห็นว่าหากมาทำธุรกิจที่อุตรดิตถจะมีแต่การขาดทุนจึงย้ายการลงทุนไปที่อื่น และกระทรวงคมนาคมสมัยนั้นเห็นว่าอุตรดิตถ์ใรสนามบินใกล้เคียงถึง 2 แห่ง จึงไม่จำเป็นต้องตั้งสนามบินขึ้นมาใหม่ ในปัจจุบันทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์กำลังปรับปรุงสนามบินอุตรดิตถ์ให้สวยงามเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจแก่ประชาชน

สนามบินอุตรดิตถ์

ถึงแม้จะไม่มีสนามบินอุตรดิตถ์แล้ว แต่การขนส่งทางอากาศในปัจจุบันก็ใช้กรมทหารม้าที่2 กองพันทหารม้าที่7 ค่ายพิชัยดาบหักในการรับส่งสิ่งของภายในส่วนราชการและรับเสด็จพระบรมซงศ์ศานุวงศ์ที่เสด็จมายังจังหวัดอุตรดิตถ์ตลอดมา

การพัฒนาสนามบินอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เลือกบริเวณโดยรอบสนามบินอุตรดิตถ์ใช้ในการสร้างศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชภาคเหนือตอนล่างตามแนวพระราชดำริขึ้น โดยจะพัฒนาร่วมไปกับการก่อสร้างมหาวิทยาลัยแม่โจ้วิทยาเขตอุตรดิตถ์ ซึ่งใช้พื้นที่ของสนามบินอุตรดิตถ์ซึ่งเป็นของกรมธนารักษ์ในการก่อสร้าง

อ้างอิง

  1. เว็ปไซต์ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์
  2. รถไฟไทยดอตคอม
  3. หมูหินท่องเที่ยว