ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อารยธรรมเฮลเลนิสต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต เพิ่ม: ar:الحضارة الهلنستية, zh:希臘化文明 ลบ: arz:هيلينيه
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[ar:الحضارة الهلنستية]]
[[arz:هيلينيه]]
[[ca:Període hel·lenístic]]
[[ca:Període hel·lenístic]]
[[en:Hellenistic civilization]]
[[en:Hellenistic civilization]]
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
[[no:Hellenistisk sivilisasjon]]
[[no:Hellenistisk sivilisasjon]]
[[uk:Елліністична цивілізація]]
[[uk:Елліністична цивілізація]]
[[zh:希臘化文明]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:37, 14 มกราคม 2554

ดินแดนเฮเลนนิสติคที่รวมทั้งอาณาจักรไดอาโดคี (Diadochi):
  ราชอาณาจักรของทอเลมีที่ 1 โซเตอร์
  ราชอาณาจักรของคาสแซนเดอร์
  ราชอาณาจักรของลิซิมาคัส
  ราชอาณาจักรของเซลูคัสที่ 1 นิคาทอร์
ดินแดนอื่นบนแผนที่:
  คาร์เธจ (ไม่ใช่ของกรีก)
  โรมัน (ไม่ใช่ของกรีก)
บริเวณสีส้มเป็นบริเวณที่ขัดแย้งกันหลังจากปี 281 ก่อนคริสต์ศตวรรษ; ราชอาณาจักรเพอร์กามอนยึดครองบางส่วน; ไม่ได้แสอง: อินโด-กรีก

อารยธรรมเฮเลนนิสติค (อังกฤษ: Hellenistic civilization) เป็นจุดสูงสุดของความมีอิทธิพลของอารยธรรมกรีกในโลกยุคโบราณตั้งแต่ราวปี 323 จนถึงราวปี 146 ก่อนคริสต์ศตวรรษ (หรืออาจจะดำเนินต่อมาถึงปี 30 ก่อนคริสต์ศตวรรษก็เป็นได้) เป็นสมัยที่ตามมาจากสมัยกรีกคลาสสิค (Classical Greece) และตามมาทันทีด้วยการปกครองของโรมในบริเวณที่เคยปกครองโดยหรือมีอิทธิพลจากกรีซ – แม้ว่าวัฒนธรรม ศิลปะ และวรรณคดีของกรีซจะยังคงมีอิทธิพลต่อสังคมของโรมัน ที่ชนชั้นสูงจะพูดและอ่านภาษากรีกได้ดีพอๆ กับภาษาลาติน หลังจากชัยชนะต่อจักรวรรดิเปอร์เชียโดยอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิดอนกรีกแล้ว ราชอาณาจักรมาซิโดเนียต่างๆ ก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นทั่วบริเวณเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ (ตะวันออกใกล้ และ ตะวันออกกลาง) และทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา (ส่วนใหญ่ในอียิปต์โบราณ) ซึ่งเป็นผลให้วัฒนธรรมและภาษากรีกเผยแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้น และในทางกลับกันอาณาจักรใหม่ที่ก่อตั้งขึ้นต่างก็รับวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ามาใช้ตามแต่จะสะดวกและมีประโยชน์

ฉะนั้นอารยธรรมเฮเลนนิสติคจึงเป็นอารยธรรมที่ผสานระหว่างอารยธรรมกรีกกับอารธรรมของตะวันออกใกล้, ตะวันออกกลาง และ เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และแยกตัวจากทัศนคติเดิมของกรีกต่ออารธรรมอื่นที่เคยถือว่าอารธรรมที่ไม่ใช่วัฒนธรรมกรีกเป็นอารธรรมของ “อนารยชน” แต่การผสานระหว่างอารยธรรมกรีกและอารยธรรมที่ไม่ใช่กรีกจะมากน้อยเท่าใดนั้นก็ยังเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ แต่แนวโน้มของความเห็นที่ตรงกันชี้ให้เห็นว่าเป็นการปรับรับวัฒนธรรมใหม่เป็นพฤติกรรมที่อยู่ในหมู่ชนชั้นสูงเท่านั้นส่วนประชากรโดยทั่วไปก็คงอาจจะดำรงชีวิตเช่นที่เคยทำกันมา[1]

อ้างอิง

  1. Green, p. xvii.
ประวัติศาสตร์กรีซ
Coat of Arms of Greece
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความที่เกี่ยวกับ
ประเทศกรีซ

กรีซยุคสำริด
อารยธรรมเฮลลาดิค
อารยธรรมซิคละดีส
อารยธรรมไมนอส
อารยธรรมไมซีนี
กรีซโบราณ
กรีซยุคมืด
กรีซยุคอาร์เคอิก
กรีซยุคคลาสสิก
กรีซยุคเฮลเลนิสติก
กรีซยุคโรมัน
กรีซยุคกลาง
กรีซยุคไบแซนไทน์
กรีซยุคฟรังโคคราเชีย
กรีซยุคออตโตมัน
กรีซยุคใหม่
สงครามประกาศเอกราชกรีซ
ราชอาณาจักรกรีซ
สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2
คณะการปกครอง 4 สิงหาคม
กรีซยุคยึดครองโดยอักษะ
สงครามกลางเมืองกรีซ
กรีซยุคปกครองโดยทหาร ค.ศ. 1967-1974
สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3
ประวัติศาสตร์แบ่งตามหัวข้อ

สถานีย่อยกรีซ

บรรณานุกรม

  • Green, Peter. Alexander The Great and the Hellenistic Age. Orion Publishing Group, Limited, 2008, ISBN 0753824132.

ดูเพิ่ม