ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริเทนส์กอตแทเลินต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
unreliable source
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
* เมื่อมี XXX อันที่3 แล้วจะมีการตัดสินว่าจะไปต่อหรือไม่
* เมื่อมี XXX อันที่3 แล้วจะมีการตัดสินว่าจะไปต่อหรือไม่
==เกร็ดน่ารู้==
==เกร็ดน่ารู้==
* ในปีที่ 4ได้เพิ่มกรรมการคนที่4แต่ว่าได้ถูกไล่ออกหลังจากการออดิชั่นที่แมนเชอสเตอร์
* ในปีที่ 4 ได้เพิ่มกรรมการคนที่4แต่ว่าได้ถูกไล่ออกหลังจากการออดิชั่นที่แมนเชอสเตอร์
* ในปี2011อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการกลุ่มใหม่ขึ้น
* ในปี 2011 มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ 2 คน
* โต๊ะการบาทที่กรรมการนั้งอยู่มีการเปลี่ยนแปลง โต๊ะ 5 ครั้ง
* โต๊ะการบาทที่กรรมการนั้งอยู่มีการเปลี่ยนแปลง โต๊ะ 5 ครั้ง
* ครั้งที่1 โต๊ะมีสัญลักษณ์ britain got talent อยู่ด้านล่างและมีการบาทอยู่ด้านบนเล็กมากในซีซั่น1ออดิชั่นครั้งแรก
* ครั้งที่ 1 โต๊ะมีสัญลักษณ์ britain got talent อยู่ด้านล่างและมีการบาทอยู่ด้านบนเล็กมากในซีซั่น1ออดิชั่นครั้งแรก
* ครั้งที่2 โต๊ะเป็นสี่เหลี่ยม และมีการบาทเป็นสีขาว(การบาทที่โชว์อยู่ด้านบนของตัวออดิชั่นก็เช่นกัน)ในซีซั่นที่ 1
* ครั้งที่ 2 โต๊ะเป็นสี่เหลี่ยม และมีการบาทเป็นสีขาว(การบาทที่โชว์อยู่ด้านบนของตัวออดิชั่นก็เช่นกัน)ในซีซั่นที่ 1
* ครั้งที่3 เปลี่ยนเป็น8เหลี่นมเพิ่มกรอบรูปการบาทและเพิ่มพื้นหลังด้วยสีฟ้า(เช่นกันกับด้านบน)ในซีซั่น 2-4
* ครั้งที่ 3 เปลี่ยนเป็น8เหลี่นมเพิ่มกรอบรูปการบาทและเพิ่มพื้นหลังด้วยสีฟ้า(เช่นกันกับด้านบน)ในซีซั่น 2-4
* ครั้งที่4 เพิ่มการบาทเป็น 4 อัน แต่ใช้แค่วันเดียวเท่านั้น(ด้านบนก็เพิ่มมาด้วย)ในซีซัน 4
* ครั้งที่ 4 เพิ่มการบาทเป็น 4 อัน แต่ใช้แค่วันเดียวเท่านั้น(ด้านบนก็เพิ่มมาด้วย)ในซีซัน 4
* ครั้งที่5 ได้เปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยมเช่นเดิมด้านหลังเป็นกระจก(ด้านบนเป็นแบบซีซั่นที่ 1)ในซีซั่นที่5(ล่าสุด)
* ครั้งที่ 5 ได้เปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยมเช่นเดิมด้านหลังเป็นกระจก(ด้านบนเป็นแบบซีซั่นที่ 1)ในซีซั่นที่5(ล่าสุด)
** ทุกปีป้ายของ ปีเตอร์ มอร์แกน [PIERS]จะเป็นป้ายแบบเดียวกันในทุกปีและของอเมริกาใช้อันเดียวกันยกเว้นไซมอน[SIMON]กับอแมนด้า[AMANDA]


[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์อังกฤษ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 11 มกราคม 2554

บริเทนส์กอตแทเลินต์
Britain's Got Talent
ประเภทประกวดความสามารถ
สร้างโดยไซมอน โคเวลล์ และ ซายโค ทีวี
เสนอโดยแอนต์ แอนด์ เดค
(บริเทนส์กอตมอร์แทเลินต์:
สตีเฟน มัลเฮิร์น)
ประเทศแหล่งกำเนิดสหราชอาณาจักร
จำนวนซีรีส์3
จำนวนตอน38
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างซายโค ทีวี โดย ทอล์กแบ็กเธมส์
ความยาวตอน1 ชั่วโมง-1 ชั่วโมง 30 นาที
ออกอากาศ
เครือข่ายไอทีวี
ออกอากาศ9 มิถุนายน พ.ศ. 2550 –
ปัจจุบัน

บริเทนส์กอตแทเลินต์ (อังกฤษ: Britain's Got Talent) เป็นรายการโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และเป็นส่วนหนึ่งของรายการโทรทัศน์ชุดกอตแทเลินต์ ที่จะค้นหาผู้ที่มีความสามารถทางด้านการแสดง ร้องเพลง ตลก รวมทั้งความสามารถอื่นๆ โดยไม่จำกัดอายุ นำเสนอรายการโดย แอนต์ แอนด์ เดค ซึ่งเป็นพิธีกรที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ

ซึ่งผู้ชนะจากการลงคะแนนโดยผู้ชม จะได้รับรางวัล 100,000 ปอนด์สเตอร์ลิง และได้รับโอกาสแสดงต่อหน้าพระพักตร์ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวงศ์ ในส่วนคณะกรรมการตัดสิน ประกอบด้วย ไซมอน โคเวลล์ อแมนดา โฮลเดน และ ปิแอร์ส มอร์แกน

ซีรีส์ชุดแรกของรายการนี้ เริ่มเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน - 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผู้ชนะคือ พอล พอตส์ ส่วนผู้ชนะของซีรีส์ที่สอง ซึ่งออกอากาศเมื่อวันที่ 12 เมษายน - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 คือ จอร์จ แซมป์สัน และซีรีส์ที่สาม เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 11 เมษายน - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 มีผู้ชนะคือ กลุ่มนักเต้น ไดเวอร์ซิตี

ซึ่งในซีรีส์ที่สามนี้เอง ที่ทำให้ทั่วโลกให้ความสนใจ จากหนึ่งในผู้เข้าประกวดชื่อ ซูเซิน บอยล์ ที่ในช่วงแรก ก่อนการแสดงความสามารถ ทั้งผู้ชมในโถงประกวด และคณะกรรมการตัดสิน แสดงความกังขาเชิงลบต่อเธอว่า ไม่น่าจะสามารถผ่านเข้ารอบได้ แต่เมื่อเธอเปล่งเสียงร้อง ในเพลง ไอดรีมด์อะดรีม (อังกฤษ: I dreamed a dream) เพลงจากละครเวทีเรื่อง เลมีเซราบล์ (ฝรั่งเศส: Les Misérables) เสียงร้องของเธอ และเรื่องราวชีวิตของเธอ ทำให้เธอโด่งดังเพียงข้ามคืน แม้จะได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศก็ตาม

กติกา ผู้เข้าแข่งขันจะต้องโชว์ความสามารถในการแสดงของตนเองได้ภายใน1-2นาทีในขณะเดียวกันกรรมการทั้ง 3 คนจะคอยดูการแสดงนี้หากไม่ชอบใจ หรือไม่ดีพอก็จะกดปุ่มสีแดงและจะมีการบาทตรงหน้าโต๊ะและด้านบน โดยมีทั้งหมด 3อันและมีการพิจารณาดังนี้

  • ไม่มีการบาทถือว่าการแสดงนั้นดีมาก
  • X อันที่1 ถือว่ายังใช้ได้
  • XX อันที่2 ถือว่ามีสิทธิ์ไปรอบต่อไปได้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการ
  • XXX อันที่3 ยุติการโชว์ความสามารถทันที
  • เมื่อมี XXX อันที่3 แล้วจะมีการตัดสินว่าจะไปต่อหรือไม่

เกร็ดน่ารู้

  • ในปีที่ 4 ได้เพิ่มกรรมการคนที่4แต่ว่าได้ถูกไล่ออกหลังจากการออดิชั่นที่แมนเชอสเตอร์
  • ในปี 2011 มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ 2 คน
  • โต๊ะการบาทที่กรรมการนั้งอยู่มีการเปลี่ยนแปลง โต๊ะ 5 ครั้ง
  • ครั้งที่ 1 โต๊ะมีสัญลักษณ์ britain got talent อยู่ด้านล่างและมีการบาทอยู่ด้านบนเล็กมากในซีซั่น1ออดิชั่นครั้งแรก
  • ครั้งที่ 2 โต๊ะเป็นสี่เหลี่ยม และมีการบาทเป็นสีขาว(การบาทที่โชว์อยู่ด้านบนของตัวออดิชั่นก็เช่นกัน)ในซีซั่นที่ 1
  • ครั้งที่ 3 เปลี่ยนเป็น8เหลี่นมเพิ่มกรอบรูปการบาทและเพิ่มพื้นหลังด้วยสีฟ้า(เช่นกันกับด้านบน)ในซีซั่น 2-4
  • ครั้งที่ 4 เพิ่มการบาทเป็น 4 อัน แต่ใช้แค่วันเดียวเท่านั้น(ด้านบนก็เพิ่มมาด้วย)ในซีซัน 4
  • ครั้งที่ 5 ได้เปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยมเช่นเดิมด้านหลังเป็นกระจก(ด้านบนเป็นแบบซีซั่นที่ 1)ในซีซั่นที่5(ล่าสุด)