ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมเส้นกั้นสี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: lv:Kluazonisms
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
[r2.5.1] โรบอต เพิ่ม: pl:Cloisonizm
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
[[lv:Kluazonisms]]
[[lv:Kluazonisms]]
[[nl:Cloisonnisme]]
[[nl:Cloisonnisme]]
[[pl:Cloisonizm]]
[[ru:Клуазонизм]]
[[ru:Клуазонизм]]
[[sv:Cloisonism]]
[[sv:Cloisonism]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:03, 26 พฤศจิกายน 2553

พระเยซูเหลือง” ค.ศ. 1889, สีน้ำมันบนผ้าใบ

ลัทธิคลัวซอนนิสม์ (อังกฤษ: Cloisonnism) เป็นลักษณะการเขียนภาพของศิลปะอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังที่เด่นและราบ (bold และ flat) ที่แยกจากสิ่งแวดล้อมด้วยขอบสีหนัก เป็นคำที่นักวิจารณ์เอดวด ดูจาแดง (Edouard Dujardin) เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1888[1] ศิลปินเช่นอีมิล เบอร์นาร์ด (Émile Bernard), หลุยส์ อันเคแตน (Louis Anquetin), พอล โกแกง และคนอื่นๆ ใช้วิธีการเขียนเช่นว่าในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า “คลัวซอนเน” (cloisonné) หมายถึงเท็คนิคในการใช้ลวดเชื่อมชิ้นต่างๆ ของฝุ่นแก้วเข้าด้วยกันก่อนที่จะเผา

“พระเยซูเหลือง” (Le Christ jaune) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1889 ถือกันว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของงานเขียนแบบคลัวซอนนิสม์ พอล โกแกงลดบริเวณต่างในภาพลงมาเหลือเพียงสีเหลืองโดยแยกพระเยซูออกมาด้วยขอบสีดำหนัก งานลักษณะนี้เกือบจะไม่ให้ความสนใจในทฤษฎีการเขียนภาพแบบทัศนียภาพที่เคยทำกันมาและลบการลดหลั่นของสีต่างๆ ในภาพจนแบนราบ —ซึ่งเป็นสองลักษณะที่เด่นของการเขียนภาพแบบเรอเนซองส์สมัยหลัง

การแยกสีของคลัวซอนนิสม์สะท้อนให้เห็นความขาดการต่อเนื่องซึ่งเป็นลักษณะของการเขียนภาพแบบศิลปะสมัยใหม่ (เอเวอร์เดลล์, ค.ศ. 1997).[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. Dujardin, Édouard: Aux XX et aux Indépendants: le Cloisonismé (sic!), Revue indépendante, Paris, March 1888, pp. 487-492

ดูเพิ่ม

สมุดภาพ