ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาช่อนบาร์กา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ใน[[แม่น้ำพรหมบุตร]]และ[[แม่น้ำคงคา]]ใน[[รัฐอัสสัม]]และ[[รัฐเบงกอลตะวันตก]]
มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ใน[[แม่น้ำพรหมบุตร]]และ[[แม่น้ำคงคา]]ใน[[รัฐอัสสัม]]และ[[รัฐเบงกอลตะวันตก]]


ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี [[ค.ศ. 1822]] โดย [[ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน]] ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]ที่[[บริติชราช|ปกครองอินเดีย]]อยู่ ได้ศึกษา[[ธรรมชาติ]]ใน[[รัฐเบงกอล]]และได้ค้นพบ[[ปลา]]น้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียน[[ภาพวาด|ภาพประกอบ]]ไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ ''An account of the fishes found in the river Ganges and its branches'' โดยบรรภาพไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 [[เซนติเมตร]] และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหา[[อาหาร]]
ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี [[ค.ศ. 1822]] โดย [[ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน]] ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]ที่[[บริติชราช|ปกครองอินเดีย]]อยู่ ได้ศึกษา[[ธรรมชาติ]]ใน[[รัฐเบงกอล]]และได้ค้นพบ[[ปลา]]น้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียน[[ภาพวาด|ภาพประกอบ]]ไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ ''An account of the fishes found in the river Ganges and its branches'' โดยบรรยายไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 [[เซนติเมตร]] และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหา[[อาหาร]]


ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก<ref>[http://thesnakeheadforum.com/viewtopic.php?f=14&t=897&start=0 Channa Barca Becoming Less "Rare"?]</ref>จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง<ref>[http://thesnakeheadforum.com/viewtopic.php?f=26&t=1102 INDIAN IMPORT AND LOADS OF CHANNA'S]</ref> และสำหรับใน[[ประเทศไทย]]เป็นปลาที่มีเพียงแค่ไม่กี่ตัว โดยพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงจะกินอาหารจำพวก[[แมลง]]และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]<ref>[http://aqua.c1ub.net/forum/lite.php?topic=109060.0 ร้านตะเพียนทอง พิเศษสุดกับ Channa barca สภาพสวย เลี้ยงง่าย มีจำนวนจำกัด ]</ref><ref>[http://siamensis.org/webboard/topic/2285 ปลาช่อนทอง Channa barca ปลาช่อนในดวงใจ]</ref>
ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก<ref>[http://thesnakeheadforum.com/viewtopic.php?f=14&t=897&start=0 Channa Barca Becoming Less "Rare"?]</ref>จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง<ref>[http://thesnakeheadforum.com/viewtopic.php?f=26&t=1102 INDIAN IMPORT AND LOADS OF CHANNA'S]</ref> และสำหรับใน[[ประเทศไทย]]เป็นปลาที่มีเพียงแค่ไม่กี่ตัว โดยพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงจะกินอาหารจำพวก[[แมลง]]และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]<ref>[http://aqua.c1ub.net/forum/lite.php?topic=109060.0 ร้านตะเพียนทอง พิเศษสุดกับ Channa barca สภาพสวย เลี้ยงง่าย มีจำนวนจำกัด ]</ref><ref>[http://siamensis.org/webboard/topic/2285 ปลาช่อนทอง Channa barca ปลาช่อนในดวงใจ]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 5 พฤศจิกายน 2553

ปลาช่อนบาร์กา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Channidae
สกุล: Channa
สปีชีส์: C.  barca
ชื่อทวินาม
Channa barca
(Hamilton, 1822)
ชื่อพ้อง

ปลาช่อนบาร์กา (อังกฤษ: Barca snakehead) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa barca ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีความยาวเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีสีเขียวและเหลืองประกอบกับจุดสีดำและแดงกระจายทั่วบริเวณส่วนหัว, ลำตัว และครีบ ส่วนหัวมีขนาดโตและปากกว้างมาก จนได้ชื่อว่าเป็นปลาช่อนที่มีความสวยงามที่สุดในโลก[1]

มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำพรหมบุตรและแม่น้ำคงคาในรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอลตะวันตก

ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1822 โดย ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพจักรวรรดิอังกฤษที่ปกครองอินเดียอยู่ ได้ศึกษาธรรมชาติในรัฐเบงกอลและได้ค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียนภาพประกอบไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ An account of the fishes found in the river Ganges and its branches โดยบรรยายไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหาอาหาร

ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก[2]จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง[3] และสำหรับในประเทศไทยเป็นปลาที่มีเพียงแค่ไม่กี่ตัว โดยพฤติกรรมในสถานที่เลี้ยงจะกินอาหารจำพวกแมลงและสัตว์เลื้อยคลาน[4][5]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลภายนอก