ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ปากน้ำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


==ภูมิหลัง==
==ภูมิหลัง==
ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin) เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วย[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]ที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก{{fn|2}} สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว
ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin)<ref name="สารคดี"/> เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วย[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]ที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก{{fn|2}} สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว


เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาว[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ดัตช์]]ซึ่งเป็นหนึ่งในชาว[[ยุโรป]]หลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน
เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาว[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ดัตช์]]ซึ่งเป็นหนึ่งในชาว[[ยุโรป]]หลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน

<!--
==ยุทธนาวี==
==ยุทธนาวี==
ฝรั่งเศสเลือกที่จะเข้าปากแม่น้ำหลังพระอาทิตย์ตกดินในวันที่ 13 กรกฎาคม
[[File:Battle of Paknam.jpg|left|thumb|200px|''A gun of Chulachomklao Fort firing on the French ships.'']]
The French chose to cross the bar just after sunset on July 13, their objective was to fight there way past the Siamese defenses but only if fired upon. The weather was overcast. By this time the Siamese were on high alert and at battle stations. The French ships were towed into action by the small mail [[steamboat|steamer]] [[Jean Baptiste Say (steamship)|''Jean Baptiste Say'']]. At 6:15&nbsp;pm the rain stopped and the Siamese gunners observed the French ships passing the nearby [[lighthouse]]. A few minutes later, the French were off Black Buoy when they entered the range of the fort. Siamese gunners were ordered to fire three warning shots, if they were ignored, then a fourth would signal their gunboats to begin firing.
<!--The French chose to cross the bar just after sunset on July 13, their objective was to fight there way past the Siamese defenses but only if fired upon. The weather was overcast. By this time the Siamese were on high alert and at battle stations. The French ships were towed into action by the small mail [[steamboat|steamer]] [[Jean Baptiste Say (steamship)|''Jean Baptiste Say'']]. At 6:15&nbsp;pm the rain stopped and the Siamese gunners observed the French ships passing the nearby [[lighthouse]]. A few minutes later, the French were off Black Buoy when they entered the range of the fort. Siamese gunners were ordered to fire three warning shots, if they were ignored, then a fourth would signal their gunboats to begin firing.


At 6:30, the fort opened fire with two blank rounds but the French continued on so a third, live, warning shot was fired and hit the water in front of the ''Jean Baptiste Say''. When this warning was ignored a fourth shot was fired so the gunboats ''Makhut Ratchakuman'' and ''Muratha Wasitsawat'' opened up at 6:50. ''Inconstant'' returned fired on the fort while the ''Comete'' engaged the gunboats. A small boat filled with explosives was also sent out to ram one of the French ships but it missed it's target. Combat lasted about twenty-five minutes.
At 6:30, the fort opened fire with two blank rounds but the French continued on so a third, live, warning shot was fired and hit the water in front of the ''Jean Baptiste Say''. When this warning was ignored a fourth shot was fired so the gunboats ''Makhut Ratchakuman'' and ''Muratha Wasitsawat'' opened up at 6:50. ''Inconstant'' returned fired on the fort while the ''Comete'' engaged the gunboats. A small boat filled with explosives was also sent out to ram one of the French ships but it missed it's target. Combat lasted about twenty-five minutes.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:41, 31 ตุลาคม 2553

วิกฤตการณ์ปากน้ำ
ส่วนหนึ่งของ วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

เรือรบฝรั่งเศสภายใต้การระดมยิงจากป้อมปืนของสยาม
ที่ปากแม่น้ำ
วันที่13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436
สถานที่
ผล ฝรั่งเศสได้รับชัยชนะและบรรลุวัตถุประสงค์
คู่สงคราม
 ฝรั่งเศส ไทย สยาม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฝรั่งเศส แอดการ์ อูว์มัน ไทย พระยาชลยุทธโยธินทร์
กำลัง
เรือการข่าว 1
เรือปืน 1
เรือกลไฟ 1
แผ่นดิน:
ปืนเสือหมอบ 7
ป้อมปืน 1
ทะเล:
เรือปืน 5
ความสูญเสีย
ตาย 3
บาดเจ็บ 2
เรือกลไฟเกยตื้น 1
เรือนำร่องเสียหาย 1
เรือปืนเสียหาย 1
ตาย ~10
บาดเจ็บ ~12
เรือปืนอับปาง 1
เรือปืนเสียหาย 11


  • เรือกลไฟของฝรั่งเศสถูกควบคุมโดยสยามหลังจากการรบโดยปราศจากการต่อต้าน

วิกฤตการณ์ปากน้ำ เป็นการรบระหว่างวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2436 ในขณะที่แล่นเรือผ่านเข้าไปในปากแม่น้ำเจ้าพระยา เรือรบฝรั่งเศส 3 ลำถูกโจมตีโดยป้อมปืนของสยามและเรือปืน ในผลการรบฝรั่งเศสได้รับชัยชนะและดำเนินการปิดล้อมกรุงเทพซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของเหตุการณ์

ภูมิหลัง

ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว แองกองสตอง (Inconstant) และเรือปืน โกแมต (Comete) ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาติแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ ลูแตง (Le Lutin)[1] เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศสซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วยป้อมพระจุลจอมเกล้าที่พึ่งสร้างขึ้น มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก2 สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกันบีบเป็นทางผ่านแคบๆเพียงทางเดียว

เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ เรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัยขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาวดัตช์ซึ่งเป็นหนึ่งในชาวยุโรปหลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท เจ้าพระยาชลยุทธโยธินทร์ เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน

ยุทธนาวี

ฝรั่งเศสเลือกที่จะเข้าปากแม่น้ำหลังพระอาทิตย์ตกดินในวันที่ 13 กรกฎาคม

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

หมายเหตุ 1: เอกสารบางฉบับแสดงความสูญเสียดังนี้ ทหารฝรั่งเศสตาย 3 คนบาดเจ็บ 3 คน ทหารสยามตาย 8 คน บาดเจ็บ 41 คนและสูญหาย 1 คน[1]

หมายเหตุ 2: เอกสารบางฉบับมีป้อมผีเสื้อสมุทรรวมอยู่ด้วย[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 ไกรฤกษ์ นานา, วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112, สารคดีปีที่ 26 ฉบับที่ 308 ตุลาคม 2553
  • Clare Smith, Israel, "The Unrivaled History of the World: Nineteenth Century", Werner Company, Chicago Illinois (1893), pg.# 1862
  • Hogan Edmond, Albert, "Pacific blockade", Clarendon Press, Oxford University (1908), pg.# 138-139