ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคาร์ดินัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ga:Cairdinéal
เพิ่มหัวข้อพระคาร์ดินัลในไทย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:kardinalcoa.png|200px|right|Cardinal coat of arms]]
[[ไฟล์:kardinalcoa.png|200px|right|Cardinal coat of arms]]
'''คาร์ดินัล''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Cardinal) เป็น[[สมณศักดิ์]]ชั้นสูง รองจาก[[พระสันตะปาปา]] ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา[[พระสันตะปาปา]] ในการปกครอง[[พระศาสนจักรสากล]]. ตำแหน่งนี้ อาจเทียบเท่ากับ[[พระ]]ชั้น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ใน[[พุทธศาสนา]] หรือ[[วุฒิสมาชิก]]ในทางโลก. ในสมัยก่อน ตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็น[[ฆราวาส]], แต่นับตั้งแต่ตรา[[กฎหมายพระศาสนจักร]]ฉบับล่าสุด ([[ค.ศ. 1917]]-[[ค.ศ. 1983|1983]]) [[พระสงฆ์]]และ[[พระสังฆราช]]เท่านั้น ที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้. หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมประชุมลับเพื่อเลือก[[พระสันตะปาปา]]องค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็น[[พระสันตะปาปา]]ได้
'''คาร์ดินัล''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Cardinal) เป็น[[สมณศักดิ์]]ชั้นสูง รองจาก[[พระสันตะปาปา]] ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา[[พระสันตะปาปา]] ในการปกครอง[[พระศาสนจักรสากล]]. ตำแหน่งนี้ อาจเทียบเท่ากับ[[พระสงฆ์]]ชั้น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ใน[[พุทธศาสนา]] หรือ[[วุฒิสมาชิก]]ในทางโลก. ในสมัยก่อน ตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็น[[ฆราวาส]], แต่นับตั้งแต่ตรา[[กฎหมายพระศาสนจักร]]ฉบับล่าสุด ([[ค.ศ. 1917]]-[[ค.ศ. 1983|1983]]) เฉพาะ[[บาทหลวง]]และ[[มุขนายก]]เท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้. หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมประชุมลับเพื่อเลือก[[พระสันตะปาปา]]องค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็น[[พระสันตะปาปา]]ได้


พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่ง[[มุขนายก]]หรือ[[พระสังฆราช]] เป็นหัวหน้าปกครองคณะ[[บาทหลวง]] นักบวชชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชน ในเขต[[สังฆมณฑล]]ที่ท่านเป็นผู้ปกครองด้วย
พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่ง[[มุขนายก]]หรือเป็นหัวหน้าปกครองคณะ[[บาทหลวง]] นักบวชชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชน ในเขต[[สังฆมณฑล]]ที่ท่านเป็นผู้ปกครองด้วย

[[พระคาร์ดินัล ไมเคิล มีชัย กิจบุญชู]] ที่[[อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ]]เป็นพระคาร์ดินัลยาวนานมาก ตั้งแต่[[ค.ศ. 1983]]


== ที่มาของคำ ==
== ที่มาของคำ ==
บรรทัด 13: บรรทัด 11:
ในพระ[[ศาสนจักร]]ยุคแรก ๆ เวลาที่คนคนหนึ่งบวชเป็น[[บาทหลวง]] ท่านผู้นั้นจะต้องอยู่ในตำแหน่งเดิมจนกว่าชีวิตจะหาไม่ และหากบาทหลวงท่านใดท่านหนึ่ง ได้รับการแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งอื่น ก็เปรียบเสมือนว่าเป็นการแซะเอาบาทหลวงท่านนั้น ออกจากประตูบานเดิม (ตำแหน่งเดิม) ไปขันนอตติดกับประตูบานใหม่ (ตำแหน่งใหม่) โดยใน[[ภาษาอังกฤษ]]ใช้การเปลี่ยนตำแหน่งในกรณีนี้ว่า '''"incardinated"''' ซึ่งก็มาจากรากศัพท์ในภาษาลาตินว่า '''"cardo"''' ซึ่งแปลว่าบานพับประตู
ในพระ[[ศาสนจักร]]ยุคแรก ๆ เวลาที่คนคนหนึ่งบวชเป็น[[บาทหลวง]] ท่านผู้นั้นจะต้องอยู่ในตำแหน่งเดิมจนกว่าชีวิตจะหาไม่ และหากบาทหลวงท่านใดท่านหนึ่ง ได้รับการแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งอื่น ก็เปรียบเสมือนว่าเป็นการแซะเอาบาทหลวงท่านนั้น ออกจากประตูบานเดิม (ตำแหน่งเดิม) ไปขันนอตติดกับประตูบานใหม่ (ตำแหน่งใหม่) โดยใน[[ภาษาอังกฤษ]]ใช้การเปลี่ยนตำแหน่งในกรณีนี้ว่า '''"incardinated"''' ซึ่งก็มาจากรากศัพท์ในภาษาลาตินว่า '''"cardo"''' ซึ่งแปลว่าบานพับประตู


การใช้คำดังกล่าวเป็นที่นิยมแพร่หลายในพระ[[ศาสนจักร]]ยุคแรก ๆ จนต่อมาในรัชสมัยของ[[พระสันตะปาปา เกรกอรี่มหาราช]] ([[Pope Gregory the Great 590-604]]) ได้มีการบัญญัติคำศัพท์ดังกล่าวเป็นคำศัพท์เฉพาะใน[[กฎหมายพระศาสนจักร]]
การใช้คำดังกล่าวเป็นที่นิยมแพร่หลายในพระ[[ศาสนจักร]]ยุคแรก ๆ จนต่อมาในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1]] ([[:en:Pope Gregory I|Pope Gregory I]] 590-604) ได้มีการบัญญัติคำศัพท์ดังกล่าวเป็นคำศัพท์เฉพาะใน[[กฎหมายพระศาสนจักร]]
ในยุคนั้นบาทหลวงบางท่านมีความสามารถเฉพาะตัวสูง จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วย[[พระสังฆราช]] (และกลายเป็น "คาร์ดินัล" แทนที่จะเป็นบาทหลวงผู้ดำรงตำแหน่งปกติ) และในบางกรณี บาทหลวงบางท่านก็ได้รับการแต่งตั้งให้ประกอบพิธีกรรมอยู่ตาม[[สักการสถาน]]โบราณหลาย ๆ แห่งในกรุงโรม เช่น [[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]] , [[มหาวิหารเซ็นต์ปอล]], [[มหาวิหารมารีย์ มาจีโอร่า]] และ[[มหาวิหารเซ็นต์จอห์น ละเตอรัน]] ฯลฯ เป็นต้น และเนื่องจากภารกิจดังกล่าว มีวาระการแต่งตั้งเป็นการชั่วคราว จึงเรียกท่านเหล่านั้นว่า '''"คาร์ดินัล"''' และนี่คือที่มาของคำว่า '''"คาร์ดินัลสงฆ์"''' ในปัจจุบัน (คาร์ดินัลที่มีศักดิ์เทียบเท่าพระสงฆ์ - '''"cardinal presbyters"''')
ในยุคนั้นบาทหลวงบางท่านมีความสามารถเฉพาะตัวสูง จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[ผู้ช่วยมุขนายก]] (และกลายเป็น "คาร์ดินัล" แทนที่จะเป็นบาทหลวงผู้ดำรงตำแหน่งปกติ) และในบางกรณี บาทหลวงบางท่านก็ได้รับการแต่งตั้งให้ประกอบพิธีกรรมอยู่ตาม[[สักการสถาน]]โบราณหลาย ๆ แห่งในกรุงโรม เช่น [[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]] , [[มหาวิหารเซ็นต์ปอล]], [[มหาวิหารมารีย์ มาจีโอร่า]] และ[[มหาวิหารเซ็นต์จอห์น ละเตอรัน]] ฯลฯ เป็นต้น และเนื่องจากภารกิจดังกล่าว มีวาระการแต่งตั้งเป็นการชั่วคราว จึงเรียกท่านเหล่านั้นว่า '''"คาร์ดินัล"''' และนี่คือที่มาของคำว่า '''"คาร์ดินัลบาทหลวง"''' ในปัจจุบัน (คาร์ดินัลที่มีศักดิ์เทียบเท่าบาทหลวง - '''"cardinal presbyters"''')


ส่วนบรรดา[[พระสังฆราช]]ที่ประจำตามเมืองต่าง ๆ รอบ ๆ กรุงโรมในยุคนั้น ต่างก็ผลัดเปลี่ยนกันประกอบพิธีในมหาวิหารละเตอรัน ซึ่งเป็นอาสนวิหารประจำกรุงโรม และถึงแม้ว่าท่านเหล่านั้นจะดำรงตำแหน่งประจำเป็น[[สังฆราช]]ในสังฆมณฑลของตน แต่ท่านก็ได้กลายเป็น "คาร์ดินัล" ในขณะที่ท่านประกอบพิธีใน[[มหาวิหาร]]ดังกล่าว และ[[พระสันตะปาปา]]ก็ได้ให้ความสำคัญต่อบรรดาพระคาร์ดินัลเหล่านั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการปรึกษากิจการงานของพระศาสนจักรอยู่เป็นประจำ
ส่วนบรรดา[[มุขนายก]]ที่ประจำตามเมืองต่าง ๆ รอบ ๆ กรุงโรมในยุคนั้น ต่างก็ผลัดเปลี่ยนกันประกอบพิธีในมหาวิหารละเตอรัน ซึ่งเป็นอาสนวิหารประจำกรุงโรม และถึงแม้ว่าท่านเหล่านั้นจะดำรงตำแหน่งประจำเป็นมุขนายกในเขตมิสซังของตน แต่ท่านก็ได้กลายเป็น "คาร์ดินัล" ในขณะที่ท่านประกอบพิธีใน[[มหาวิหาร]]ดังกล่าว และ[[พระสันตะปาปา]]ก็ได้ให้ความสำคัญต่อบรรดาพระคาร์ดินัลเหล่านั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการปรึกษากิจการงานของพระศาสนจักรอยู่เป็นประจำ


นี่คือที่มาของคำว่า '''"คาร์ดินัลสังฆราช"''' (คาร์ดินัลที่ศักดิ์เทียบเท่าพระสังฆราช - '''"cardinal bishops"''') ซึ่งดำรงตำแหน่งสังฆราชประจำสังฆมณฑลเจ็ดแห่งรอบ ๆ กรุงโรมในปัจจุบัน
นี่คือที่มาของคำว่า '''"คาร์ดินัลมุขนายก"''' (คาร์ดินัลที่ศักดิ์เทียบเท่าพระสังฆราช - '''"cardinal bishops"''') ซึ่งดำรงตำแหน่งมุขนายกประจำเขตมิสซังเจ็ดแห่งรอบ ๆ กรุงโรมในปัจจุบัน
และหลังจากที่พระสันตะสำนักได้อำนาจการปกครองกรุงโรม ก็จำเป็นต้องให้บริการต่าง ๆ ด้านสังคมแก่บรรดาประชาชน โดยบริการดังกล่าวนี้ แรกทีเดียวบรรดา'''สังฆานุกร (deacons) ''' ซึ่งเป็นบุคลากรของพระสันตปาปาที่ประจำอยู่หาวิหารละเตอรันเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ต่อมาก็ได้มีการส่งบุคลากรดังกล่าวไปประจำตามศูนย์บริการด้านสังคม (diaconiae) ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วกรุงโรม โดยที่ศูนย์แต่ละแห่งจะมีวัดน้อย (chapel) อยู่ด้วย
และหลังจากที่พระสันตะสำนักได้อำนาจการปกครองกรุงโรม ก็จำเป็นต้องให้บริการต่าง ๆ ด้านสังคมแก่บรรดาประชาชน โดยบริการดังกล่าวนี้ แรกทีเดียวบรรดา'''สังฆานุกร (deacons) ''' ซึ่งเป็นบุคลากรของพระสันตปาปาที่ประจำอยู่หาวิหารละเตอรันเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ต่อมาก็ได้มีการส่งบุคลากรดังกล่าวไปประจำตามศูนย์บริการด้านสังคม (diaconiae) ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วกรุงโรม โดยที่ศูนย์แต่ละแห่งจะมีวัดน้อย (chapel) อยู่ด้วย
บรรทัด 29: บรรทัด 27:
[[พระสันตะปาปา]]หลายองค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้ทำการแต่งตั้งบุคคลากรหลาย ๆ ท่านให้มาช่วยในการปฏิบัติภารกิจของพระองค์ที่กรุงโรม โดยทรงแต่งตั้งให้ท่านเหล่านั้นปกครองวิหารต่าง ๆ ในกรุงโรม โดยไม่ต้องไปประกอบพิธีกรรมเป็นประจำทุกวันตามวิหารเหล่านั้น บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งดังกล่าวจึงดำรงตำแหน่ง "คาร์ดินัล" ไปด้วยและมีบทบาทสำคัญในการอภิบาลสัตบุรุษในกรุงโรม และในการฟื้นฟูชีวิตฝ่ายจิตของบรรดาคริสตชนในพระศาสนจักรทั่วโลก
[[พระสันตะปาปา]]หลายองค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้ทำการแต่งตั้งบุคคลากรหลาย ๆ ท่านให้มาช่วยในการปฏิบัติภารกิจของพระองค์ที่กรุงโรม โดยทรงแต่งตั้งให้ท่านเหล่านั้นปกครองวิหารต่าง ๆ ในกรุงโรม โดยไม่ต้องไปประกอบพิธีกรรมเป็นประจำทุกวันตามวิหารเหล่านั้น บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งดังกล่าวจึงดำรงตำแหน่ง "คาร์ดินัล" ไปด้วยและมีบทบาทสำคัญในการอภิบาลสัตบุรุษในกรุงโรม และในการฟื้นฟูชีวิตฝ่ายจิตของบรรดาคริสตชนในพระศาสนจักรทั่วโลก
ยุคทองของสถาบันคาร์ดินัลมีจุดเริ่มต้นจาก[[พระราชโองการ]]ของ[[พระสันตะปาปานิโคลาส]]ที่สอง เกี่ยวกับการเลือกตั้ง[[พระสันตะปาปา]] ซึ่งประกาศใช้ในปี [[ค.ศ. 1059]] ซึ่งกำหนดให้คาร์ดินัลสังฆราช คาร์ดินัลสงฆ์ และคาร์ดินัลสังฆานุกร มีบทบาทสำคัญในการเลือกตั้งพระสันตะปาปาแทนตำแหน่งที่ว่างลง โดยที่[[พระสมณะ]] ([[clergy]]) อื่น ๆ และบรรดา[[สัตบุรุษ]]มีบทบาทเพียงการให้[[สัตยาบัน]]ต่อผลของการเลือกตั้งเท่านั้น
ยุคทองของสถาบันคาร์ดินัลมีจุดเริ่มต้นจากพระบัญชาของ[[สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2]] เกี่ยวกับการเลือกตั้ง[[พระสันตะปาปา]] ซึ่งประกาศใช้ในปี [[ค.ศ. 1059]] ซึ่งกำหนดให้คาร์ดินัลสังฆราช คาร์ดินัลสงฆ์ และคาร์ดินัลสังฆานุกร มีบทบาทสำคัญในการเลือกตั้งพระสันตะปาปาแทนตำแหน่งที่ว่างลง โดยที่[[พระสมณะ]] ([[clergy]]) อื่น ๆ และบรรดา[[สัตบุรุษ]]มีบทบาทเพียงการให้[[สัตยาบัน]]ต่อผลของการเลือกตั้งเท่านั้น


ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1179]] [[สังคายนา]]แห่งละเตอรันครั้งที่สาม ได้มีมติให้สถาบันคาร์ดินัลสามารถเลือกตั้ง[[พระสันตะปาปา]]แทนตำแหน่งที่ว่างลงได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องได้รับสัตยาบันจากพระสมณะอื่น ๆ และบรรดา[[สัตบุรุษ]]
ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1179]] [[สังคายนา]]แห่งละเตอรันครั้งที่สาม ได้มีมติให้สถาบันคาร์ดินัลสามารถเลือกตั้ง[[พระสันตะปาปา]]แทนตำแหน่งที่ว่างลงได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องได้รับสัตยาบันจากพระสมณะอื่น ๆ และบรรดา[[สัตบุรุษ]]

==พระคาร์ดินัลในประเทศไทย==
[[ไฟล์:Pic 0006.JPG|150px|thumb|right|[[พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู]]<br>อดีตมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ ]]

[[สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2]] ได้มีพระสมณสาส์นแต่งตั้งมุขนายก ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู มุขนายก[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]] เป็นพระคาร์ดินัลคนแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ [[5 มกราคม]] [[ค.ศ. 1983]] และมีพิธีสถาปนาสมณศักดิ์พระคาร์ดินัลอย่างเป็นทางการในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] ปีเดียวกัน ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม นครรัฐวาติกัน



[[หมวดหมู่:พระคาร์ดินัล]]
[[หมวดหมู่:พระคาร์ดินัล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:26, 7 ตุลาคม 2553

Cardinal coat of arms
Cardinal coat of arms

คาร์ดินัล (อังกฤษ: Cardinal) เป็นสมณศักดิ์ชั้นสูง รองจากพระสันตะปาปา ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาพระสันตะปาปา ในการปกครองพระศาสนจักรสากล. ตำแหน่งนี้ อาจเทียบเท่ากับพระสงฆ์ชั้นสมเด็จพระราชาคณะในพุทธศาสนา หรือวุฒิสมาชิกในทางโลก. ในสมัยก่อน ตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็นฆราวาส, แต่นับตั้งแต่ตรากฎหมายพระศาสนจักรฉบับล่าสุด (ค.ศ. 1917-1983) เฉพาะบาทหลวงและมุขนายกเท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้. หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมประชุมลับเพื่อเลือกพระสันตะปาปาองค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาได้

พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่งมุขนายกหรือเป็นหัวหน้าปกครองคณะบาทหลวง นักบวชชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชน ในเขตสังฆมณฑลที่ท่านเป็นผู้ปกครองด้วย

ที่มาของคำ

คำว่า cardinal มาจากคำในภาษาลาตินที่ใช้เรียกบานพับประตู (cardo)

ในพระศาสนจักรยุคแรก ๆ เวลาที่คนคนหนึ่งบวชเป็นบาทหลวง ท่านผู้นั้นจะต้องอยู่ในตำแหน่งเดิมจนกว่าชีวิตจะหาไม่ และหากบาทหลวงท่านใดท่านหนึ่ง ได้รับการแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งอื่น ก็เปรียบเสมือนว่าเป็นการแซะเอาบาทหลวงท่านนั้น ออกจากประตูบานเดิม (ตำแหน่งเดิม) ไปขันนอตติดกับประตูบานใหม่ (ตำแหน่งใหม่) โดยในภาษาอังกฤษใช้การเปลี่ยนตำแหน่งในกรณีนี้ว่า "incardinated" ซึ่งก็มาจากรากศัพท์ในภาษาลาตินว่า "cardo" ซึ่งแปลว่าบานพับประตู

การใช้คำดังกล่าวเป็นที่นิยมแพร่หลายในพระศาสนจักรยุคแรก ๆ จนต่อมาในรัชสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 (Pope Gregory I 590-604) ได้มีการบัญญัติคำศัพท์ดังกล่าวเป็นคำศัพท์เฉพาะในกฎหมายพระศาสนจักร

ในยุคนั้นบาทหลวงบางท่านมีความสามารถเฉพาะตัวสูง จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยมุขนายก (และกลายเป็น "คาร์ดินัล" แทนที่จะเป็นบาทหลวงผู้ดำรงตำแหน่งปกติ) และในบางกรณี บาทหลวงบางท่านก็ได้รับการแต่งตั้งให้ประกอบพิธีกรรมอยู่ตามสักการสถานโบราณหลาย ๆ แห่งในกรุงโรม เช่น มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ , มหาวิหารเซ็นต์ปอล, มหาวิหารมารีย์ มาจีโอร่า และมหาวิหารเซ็นต์จอห์น ละเตอรัน ฯลฯ เป็นต้น และเนื่องจากภารกิจดังกล่าว มีวาระการแต่งตั้งเป็นการชั่วคราว จึงเรียกท่านเหล่านั้นว่า "คาร์ดินัล" และนี่คือที่มาของคำว่า "คาร์ดินัลบาทหลวง" ในปัจจุบัน (คาร์ดินัลที่มีศักดิ์เทียบเท่าบาทหลวง - "cardinal presbyters")

ส่วนบรรดามุขนายกที่ประจำตามเมืองต่าง ๆ รอบ ๆ กรุงโรมในยุคนั้น ต่างก็ผลัดเปลี่ยนกันประกอบพิธีในมหาวิหารละเตอรัน ซึ่งเป็นอาสนวิหารประจำกรุงโรม และถึงแม้ว่าท่านเหล่านั้นจะดำรงตำแหน่งประจำเป็นมุขนายกในเขตมิสซังของตน แต่ท่านก็ได้กลายเป็น "คาร์ดินัล" ในขณะที่ท่านประกอบพิธีในมหาวิหารดังกล่าว และพระสันตะปาปาก็ได้ให้ความสำคัญต่อบรรดาพระคาร์ดินัลเหล่านั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยการปรึกษากิจการงานของพระศาสนจักรอยู่เป็นประจำ

นี่คือที่มาของคำว่า "คาร์ดินัลมุขนายก" (คาร์ดินัลที่ศักดิ์เทียบเท่าพระสังฆราช - "cardinal bishops") ซึ่งดำรงตำแหน่งมุขนายกประจำเขตมิสซังเจ็ดแห่งรอบ ๆ กรุงโรมในปัจจุบัน

และหลังจากที่พระสันตะสำนักได้อำนาจการปกครองกรุงโรม ก็จำเป็นต้องให้บริการต่าง ๆ ด้านสังคมแก่บรรดาประชาชน โดยบริการดังกล่าวนี้ แรกทีเดียวบรรดาสังฆานุกร (deacons) ซึ่งเป็นบุคลากรของพระสันตปาปาที่ประจำอยู่หาวิหารละเตอรันเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ต่อมาก็ได้มีการส่งบุคลากรดังกล่าวไปประจำตามศูนย์บริการด้านสังคม (diaconiae) ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วกรุงโรม โดยที่ศูนย์แต่ละแห่งจะมีวัดน้อย (chapel) อยู่ด้วย

ความสำคัญของท่านเหล่านั้นในการช่วยเหลือผู้ยากไร้คือที่มาของคำว่า "คาร์ดินัลสังฆานุกร" ในปัจจุบัน (คาร์ดินัลที่มีศักดิ์เทียบเท่าสังฆานุกร "cardinal deacons")

บรรดาพระคาร์ดินัลต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ได้เริ่มทวีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในการช่วยพระสันตะปาปาปฏิบัติภารกิจในฐานะพระสังฆราชแห่งกรุงโรม และในฐานะประมุขของสภาพระสังฆราชทั่วโลก รวมทั้งการเป็นผู้แทนของพระองค์ในการปฏิบัติภารกิจพิเศษต่าง ๆ และการเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาในการประชุมสังคายนาต่าง ๆ ด้วย

พระสันตะปาปาหลายองค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้ทำการแต่งตั้งบุคคลากรหลาย ๆ ท่านให้มาช่วยในการปฏิบัติภารกิจของพระองค์ที่กรุงโรม โดยทรงแต่งตั้งให้ท่านเหล่านั้นปกครองวิหารต่าง ๆ ในกรุงโรม โดยไม่ต้องไปประกอบพิธีกรรมเป็นประจำทุกวันตามวิหารเหล่านั้น บุคลากรที่ได้รับการแต่งตั้งดังกล่าวจึงดำรงตำแหน่ง "คาร์ดินัล" ไปด้วยและมีบทบาทสำคัญในการอภิบาลสัตบุรุษในกรุงโรม และในการฟื้นฟูชีวิตฝ่ายจิตของบรรดาคริสตชนในพระศาสนจักรทั่วโลก

ยุคทองของสถาบันคาร์ดินัลมีจุดเริ่มต้นจากพระบัญชาของสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2 เกี่ยวกับการเลือกตั้งพระสันตะปาปา ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1059 ซึ่งกำหนดให้คาร์ดินัลสังฆราช คาร์ดินัลสงฆ์ และคาร์ดินัลสังฆานุกร มีบทบาทสำคัญในการเลือกตั้งพระสันตะปาปาแทนตำแหน่งที่ว่างลง โดยที่พระสมณะ (clergy) อื่น ๆ และบรรดาสัตบุรุษมีบทบาทเพียงการให้สัตยาบันต่อผลของการเลือกตั้งเท่านั้น

ต่อมาในปี ค.ศ. 1179 สังคายนาแห่งละเตอรันครั้งที่สาม ได้มีมติให้สถาบันคาร์ดินัลสามารถเลือกตั้งพระสันตะปาปาแทนตำแหน่งที่ว่างลงได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องได้รับสัตยาบันจากพระสมณะอื่น ๆ และบรรดาสัตบุรุษ

พระคาร์ดินัลในประเทศไทย

ไฟล์:Pic 0006.JPG
พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู
อดีตมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ได้มีพระสมณสาส์นแต่งตั้งมุขนายก ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู มุขนายกเขตมิสซังกรุงเทพฯ เป็นพระคาร์ดินัลคนแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1983 และมีพิธีสถาปนาสมณศักดิ์พระคาร์ดินัลอย่างเป็นทางการในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม นครรัฐวาติกัน

แม่แบบ:Link FA