ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนวัดราชโอรส"

พิกัด: 13°42′08″N 100°27′54″E / 13.70226°N 100.465089°E / 13.70226; 100.465089
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
พุทธพล (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรูป
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
| campus =
| campus =
| branch =
| branch =
| website = http://ro.ac.th , http://www.facebook.com/pages/isy-kea-rongreiyn-wd-rachxors/115577088477296
| website = http://ro.ac.th
| footnote =
| footnote =
}}
}}
'''โรงเรียนวัดราชโอรส''' เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขต[[วัดราชโอรส|วัดราชโอรสาราม]] ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย(คลองด่าน) ชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม 2458 เปิดสอนในวันที่ 17 พฤษภาคม 2458 โดยมี ขุนจงจิตต์ฝึก(ราชบุรุษโชติ ไวยกฏ)ดำรงตำแหน่งครูใหญ่และคนแรกระยะแรกโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนเพียง 2 ชั้นคือ ประถมปีที่ 1 และประถมปีที่ 2ในช่วงเวลา 13 ปี ที่ขุนจงจิตต์ฝึกเป็นครูใหญ่ ได้ขยายการศึกษาอย่างเต็มที่ คือมีชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ปัจจุบันมีชั้นเรียนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 โดยมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 21 ไร่ 262 ตารางวา โทรศัพท์ 0-2415-0621 , 0-2415-3289 , 0-2415-276 โทรสาร 0-2893-7386
'''โรงเรียนวัดราชโอรส''' เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขต[[วัดราชโอรส|วัดราชโอรสาราม]] ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย(คลองด่าน) ชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม 2458 เปิดสอนในวันที่ 17 พฤษภาคม 2458 โดยมี ขุนจงจิตต์ฝึก(ราชบุรุษโชติ ไวยกฏ)ดำรงตำแหน่งครูใหญ่และคนแรกระยะแรกโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนเพียง 2 ชั้นคือ ประถมปีที่ 1 และประถมปีที่ 2ในช่วงเวลา 13 ปี ที่ขุนจงจิตต์ฝึกเป็นครูใหญ่ ได้ขยายการศึกษาอย่างเต็มที่ คือมีชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ปัจจุบันมีชั้นเรียนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 โดยมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 21 ไร่ 262 ตารางวา โทรศัพท์ 0-2415-0621 begin_of_the_skype_highlighting              0-2415-0621      end_of_the_skype_highlighting , 0-2415-3289 , 0-2415-276 โทรสาร 0-2893-7386


[[ไฟล์:School.jpg|thumb|โรงเรียนวัดราชโอรส]]
[[ไฟล์:สนามหญ้าโรงเรียนวัดราชโอรส.JPG|thumb|สนามหญ้า]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง.jpg|thumb|ทัศนียภาพ]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง.jpg|thumb|ทัศนียภาพ]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง-สนาม1.jpg|thumb|ทัศนียภาพ]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง-สนาม1.jpg|thumb|ทัศนียภาพ]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง-ห้องเรียน.jpg|thumb|ทัศนียภาพ]]
[[ไฟล์:โรงเรียนวัดราชโอรส-มุมมอง-ห้องเรียน.jpg|thumb|ห้องเรียน]]
[[ไฟล์:สระว่ายน้ำ_โรงเรียนวัดราชโอรส.JPG|thumb|สระว่ายน้ำ]]


== สัญลักษณ์ของโรงเรียน ==
== สัญลักษณ์ของโรงเรียน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:58, 29 กันยายน 2553

โรงเรียนวัดราชโอรส
(Wat Ratcha O Rot)School
ตราสัญลักษณ์
ตราสัญลักษณ์พระราชทานโรงเรียนวัดราชโอรส
ที่ตั้ง
แผนที่
เลขที่ 4 ซอยสุทธานินทร์ ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพ รหัสไปรษณีย์ 10150
ข้อมูล
ชื่ออื่นร.อ. (R.O.)
ประเภทโรงเรียนรัฐบาล โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
คำขวัญทำตัวน่ารัก ใจภักดิ์โรงเรียน หมั่นเพียรศึกษา ใฝ่หาความรู้ อยู่ด้วยวินัย
สถาปนาวันศุกร์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 5 ปีเถาะ จ.ศ.1277 (19 มีนาคม 2458)
หน่วยงานกำกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รหัส1000103501,00103501
ผู้อำนวยการนายราชวัตร สว่างรักษ์
ระดับปีที่จัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น-ปลาย
สี██████
เพลงเพลงราชโอรสสถาบัน
เว็บไซต์http://ro.ac.th

โรงเรียนวัดราชโอรส เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขตวัดราชโอรสาราม ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย(คลองด่าน) ชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม 2458 เปิดสอนในวันที่ 17 พฤษภาคม 2458 โดยมี ขุนจงจิตต์ฝึก(ราชบุรุษโชติ ไวยกฏ)ดำรงตำแหน่งครูใหญ่และคนแรกระยะแรกโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนเพียง 2 ชั้นคือ ประถมปีที่ 1 และประถมปีที่ 2ในช่วงเวลา 13 ปี ที่ขุนจงจิตต์ฝึกเป็นครูใหญ่ ได้ขยายการศึกษาอย่างเต็มที่ คือมีชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ปัจจุบันมีชั้นเรียนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 โดยมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 21 ไร่ 262 ตารางวา โทรศัพท์ 0-2415-0621 begin_of_the_skype_highlighting              0-2415-0621      end_of_the_skype_highlighting , 0-2415-3289 , 0-2415-276 โทรสาร 0-2893-7386

ไฟล์:สนามหญ้าโรงเรียนวัดราชโอรส.JPG
สนามหญ้า
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ห้องเรียน
ไฟล์:สระว่ายน้ำ โรงเรียนวัดราชโอรส.JPG
สระว่ายน้ำ

สัญลักษณ์ของโรงเรียน

องค์อุปการะ พระธรรมกิตติวงศ์ เจ้าอาวาส วัดราชโอรสาราม
ความหมายตราสัญลักษณ์ เลข ๓ เหนืออักษร ร.อ. ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฏ
พระพุทธรูปประจำโรงเรียน ประดิษฐาน ณ ปราสาทตรีมุข กลางสระน้ำ
คำขวัญประจำโรงเรียน ทำตัวน่ารัก ใจภักดิ์โรงเรียน หมั่นเพียรศึกษา ใฝ่หาความรู้ อยู่ด้วยวินัย
คติพจน์ประจำโรงเรียน อตตนา โจทยตตนํ “จงเตือนตนด้วยตนเอง”
อุดมการณ์ประจำโรงเรียน ระเบียบวินัยและคุณธรรมจะสร้างคนให้เป็นคนดีของสังคม นำพาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าได้
ภาพลักษณ์ เป็นโรงเรียนที่สร้างนักเรียนให้เป็นคนดี ระเบียบวินัยเข้มแข็ง มีคุณธรรม จริยธรรม

และค่านิยมที่พึงประสงค์มีความรู้ ความสามารถเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม มีสิ่งแวดล้อมที่ดีเยี่ยม

เกียรติประวัติของโรงเรียนวัดราชโอรส พ.ศ. 2536-2549

1) ปี 2536 ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่น กรมสามัญศึกษา
2) ปี 2536-2540 เป็นโรงเรียนพี่เลี้ยงโรงเรียนวังไกลกังวลในพระบรมราชูปถัมภ์ด้านงานแนะแนว
3) ปี 2536-2541 ได้รับคัดเลือกให้เป็นศูนย์จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4) ปี 2527-2537 ได้รับถ้วยรางวัลการแข่งขันยูโดชนะเลิศติดต่อกัน 11 ปี
5) ปี 2538 ได้รับรางวัลโรงเรียนสิ่งแวดล้อมดีเด่น เขตการศึกษาส่วนกลาง
6) ปี 2538 ได้รับรางวัลห้องสมุดดีเด่นกรมสามัญศึกษา
7) ปี 2540 ได้รับโล่รางวัล “ โรงเรียนที่มีนักเรียนประพฤติดี มีคุณธรรม บำเพ็ญประโยชน์มากที่สุด ” จากกระทรวงศึกษาธิการ
8) ปี 2542 ได้รับเกียรติบัตร “ โรงเรียนที่จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ สนับสนุนงานสารวัตรนักเรียน ” จากกรมพลศึกษา
9) ปี 2543- 2547 ได้รับโล่รางวัลธนาคารโรงเรียนดีเด่นและการปฏิบัติงานธนาคาร ดีเยี่ยมระดับประเทศ จากธนาคารออมสินติดต่อกัน 5 ปี
10) ปี 2544 โล่รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดคำขวัญ เนื่องใน วันต่อต้านยาเสพติด จากสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
11) ปี 2544 โล่รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดสื่อต่อต้านยาเสพติด จากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
12) ปี 2544 ได้รับเกียรติบัตรยกย่องต้านส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร จากสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
13) ปี 2545 โล่รางวัล “ เป็นโรงเรียนซึ่งมีนักเรียนจำนวนมาก ได้รับการยกย่องว่าประพฤติดี และ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ” จากคณะกรรมการจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติ
14) ปี 2545 ได้รับการยกย่องเป็น “ โรงเรียนยอดนิยม กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ”
15) ปี 2545 ได้รับรางวัลเกียรติยศ “ สถาบันการศึกษาปลอดยาเสพติดดีเด่น ภาครัฐบาลจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ”
16) ปี 2546 ศูนย์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิชาภาษาญี่ปุ่น กรมสามัญศึกษา
17) ปี 2547 ศูนย์พัฒนาวิชาการภาษาจีน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
18) ปี 2540-2548 ได้รับรางวัลชนะเลิศกีฬาแฮนด์บอล จากการแข่งขันกีฬา นักเรียน
– นักศึกษาแห่งประเทศไทย 7 ปีซ้อน - การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ 3 สมัยซ้อน
- การ แข่งขันกีฬาแฮนด์บอลกรมพลศึกษา 8 ปีซ้อน
19) ปี 2549 ได้รับพระราชทานรางวัลเกียรติคุณ สัญญา ธรรมศักดิ์ ประจำปีการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2548จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

== เกียรติประวัติของนักเรียน พ.ศ. 2536-2549 ==
1) Mr.CHALERMKORN SAPPROETPRAI Receive Achievement Award for winning the Rat-O-Rot school competition in the 2000-2001 Lions International Peace Poster Contest. 4 January 2001
2) รางวัลชมเชย การแข่งขันตอบปัญหาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายของกลุ่มโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กลุ่มที่ 2
3) รางวัลที่ 3 การแข่งขันทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระดับเขตการศึกษากรุงเทพมหานคร
4) รางวัลชมเชย การแข่งขันวาดภาพจินตนาการทางวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนต้นของกลุ่มโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กลุ่มที่ 2
5) รางวัลชมเชย การแข่งขันการพูดทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของกลุ่มโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กลุ่มที่ 2
6) ชนะเลิศและรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันตอบปัญหาภาษาญี่ปุ่น ในการจัดกิจกรรมแข่งขันทักษะภาษาญี่ปุ่น 12 กรกฎาคม 2547 ณ โรงเรียนโพธิสารวิทยากร
7) รองชนะเลิศอันดับ 1 “ การแข่งขันพับกระดาษ ” ในการจัดกิจกรรมแข่งขันทักษะภาษาญี่ปุ่น 12 กรกฎาคม 2547 ณ โรงเรียนโพธิสารวิทยากร
8) ชนะเลิศการแข่งขันหมากล้อม ประเภท Friendship game ของบริษัท ซีพี เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน ) ร่วมกับสมาคมกีฬาหมากล้อมแห่งประเทศไทย วันที่ 4-5 กรกฎาคม 2547
9) รองชนะเลิศ การแข่งขัน หมากล้อม ประเภท Friendship Game ของ บริษัท ซีพี เซเว่น อีเลฟเว่น จำกัด ( มหาชน ) ร่วมกับวิทยาลัย พณิชยการธนบุรี รุ่น 13 –18 ปี ประเภท KATA
10) ชนะเลิศ เยาวชนหญิง รุ่น 13-18 ปี ประเภท KATAการแข่งขัน “ ไทยคาราเต้ โด- โกจูไก ” ระดับเยาวชน และบุคคลประจำปี 2547 การกีฬาแห่งประเทศไทย
11) ชนะเลิศระดับบุคคล ( ประชาชนทั่วไป ) หญิงระดับสูง ประเภท KATA การแข่งขันไทย คาราเต้ โด – โกจูไก
12) รองชนะเลิศอันดับ 2 เยาวชนหญิง รุ่น 13- 18 ปี ประเภท KATA การแข่งขันไทย คาราเต้ โด – โกจูไก
13) ชนะเลิศการแข่งขันประดิษฐ์กระทงลอย ณ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์บอร์ด บางแค
14) รองชนะเลิศอันดับ 2 “การแข่งขันเล่านิทานภาษาอังกฤษ” ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น กลุ่มโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กลุ่มที่ 2 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2547
15) รองชนะเลิศอันดับที่ 1 “การแข่งขันเล่านิทานภาษาอังกฤษ” ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น กลุ่มโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3 กลุ่มที่ 2 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2547
16) รองชนะเลิศอันดับที่ 2 “การแข่งขันความสามารถทางภาษาอังกฤษ Millionaine Quiz” ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วันที่ 22 ธันวาคม 2547
17) นายจีรศักดิ์ แก้วอ่ำ ได้รับรางวัลที่ 2 ผลงานชื่อ แสงสว่างในอนาคต “Light of the Future” ในโครงการแข่งขันงานศิลปะ “2004 International Year of rice Art and Design” จัดโดยสถาบัน PO LEUNG KUK , Hong Kong วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2548
18) นางสาวปัทมา อาวุโสสกุล ได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 30 ของ เยาวชนทั่วประเทศไทยเดินทางไปจารึกแสวงบุญ ณ ประเทศอินเดีย
19) ได้รับทุนดำเนินโครงงาน “ใจงามน้ำใส เทิดไท้ราชินี” ภายใต้โครงการ น้ำใสทั่วไทย… ดุจน้ำพระทัยพระราชินี โดยความร่วมมือระหว่าง ธนาคารกสิการไทย กับสำนักงานคณะกรรมการขั้นพื้นฐาน 30,000 บาท 20) นายวรงค์ชาญ ทุกขนิโรธ โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศชิลี เป็นเวลา 11 เดือน มีนาคม 2546 - 2547
21) นายธนพล อภิชาติเสถียร โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศอเมริกา เป็นเวลา 11 เดือน สิงหาคม 2546 2547
22) นางสาวมธุรส เนตรมฤดี โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศอาเจนตินา เป็นเวลา 11 เดือน กุมภาพันธ์ 2548 - 2549
23) นางสาวสรัญญา งามจิรวิโรจน์ โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศชิลี มีนาคม 2548 - 2549
24) นางสาวอลิสา จิรวณิชชากร โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศญี่ปุ่น สิงหาคม 2548 - 2549
25) นางสาวศุภพร เตชวัชรปัญญา โครงการ เอเอฟเอสแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม ที่ประเทศอเมริกา สิงหาคม 2548 - 2549
26) นาย ณัฐดนัย หลำแสงกุล โครงการ เรียนภาษาจีนและศึกษาวัฒนธรรม ที่มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้นอร์มอล ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีนาคม – เมษายน 2548

ไฟล์:Map-ro2.jpg

ดูแผนที่ขนาดใหญ่ (ชั่วคราว)

การเดินทาง
-รถยนต์โดยสารประจำทางสาย 43 , 111 , 120 ,167 และ ปอ. 544 ลงป้ายหยุดรถ บริเวณ ซ.เอกชัย 4
-รถยนต์โดยสารขนาดเล็ก วัดสิงห์ – ดาวคะนอง , วัดสิงห์ – วัดหนัง
-รถไฟชานเมืองสายวงเวียนใหญ่ – มหาชัย ลงสถานีจอมทอง
-เรือโดยสารประจำทางสายวัดไทร – ปากคลองตลาด
-ยานพาหนะส่วนตัว มาทางถนน เอกชัย ซ.4

13°42′08″N 100°27′54″E / 13.70226°N 100.465089°E / 13.70226; 100.465089