ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Maxzaa01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
revert, (not a test page)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{หน้าช่วยเหลือส่วนหัว}}
''' Virtual Air Traffic Simulation Network '''
{{วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/แท็บส่วนหัว|หน้านี้=2}}
VATSIM หรือ Virtual จราจรทางอากาศจำลองเครือข่ายเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรปฏิบัติการที่ทุ่มเท, ทั่วโลก, Internet เครือข่ายตาม .Users บินจำลอง สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายการบินทั้งออนไลน์เป็นนักบินใช้ซอฟต์แวร์การจำลองการบินหรือตรงจราจร เป็นตัวควบคุมการจราจรทางอากาศ (ATC) และมีส่วนร่วมในสิ่งที่ถูกอธิบายไว้ใกล้เคียงของจริงการบิน องค์กรมีความเด่นระดับสูงของการมีส่วนร่วมและความเป็นจริงที่ได้เห็นในการใช้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย Federal Aviation Administration สนับสนุนโครงการ ชื่อเสียงนี้ทำให้องค์กรที่มีการแนะนำในหน้าแรกของ Wall Street Journal ใน 2006.มันเป็นการออนไลน์เครือข่ายการบินที่ใหญ่ที่สุดในโลกจำลองกว่า 209,000 ของสมาชิก 3 กันยายน 2009.


<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
VATSIM เป็นหนึ่งในสองผู้ให้บริการหลักของเครือข่ายการบินจำลองซึ่งช่วยให้ผู้ใช้ทั้งบินออนไลน์เป็นนักบินหรือเข้าชมโดยตรงเป็นตัวควบคุมการจราจรทางอากาศ (ATC) . การสื่อสารระหว่างนักบินและควบคุมจะดำเนินการรวมเสียงเกิน IP หรือในเกมข้อความ ผู้ใช้ต้องการซอฟต์แวร์ที่กำหนดเองเพื่อใช้เครือข่าย ผ่าน VATSIM คนสามัญได้มารวมกันเป็นเครือข่ายของนักบินติดต่อกับควบคุมการจราจรทางอากาศเพื่อผลิตกว้างใหญ่จำลองอินทรีย์อากาศจริงจราจร.มีเป้าหมายเพื่อให้จำลองให้ใกล้ที่สุดเพื่อชีวิตจริงการบินรวมถึงมาตรฐานกระบวนการจริงและถ้อยคำวิทยุ นี้ได้ทำ VATSIM ช่วยฝึกอบรมให้นักบินนักเรียนที่ขาดประสบการณ์ในการสื่อสารกับการควบคุมการจราจรทางอากาศเป็นส่วนตัวและพาณิชย์นักบินที่ต้องการเพิ่มทักษะโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสื่อสารทางวิทยุ. ในความสำเร็จนี้เครือข่ายได้รับการเน้นขึ้นกับสิ่งที่เคยออกกิจกรรมในเกมที่ไม่เพียงเป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ แต่จะแนะนำโดยรวมของความพยายามของมนุษย์และข้อผิดพลาด.


== การแก้ไขวิกิพีเดียขั้นต้น ==
'''เครือข่าย'''
[[ภาพ:Edit-this-page-large-th.png|300px|right|กด "แก้ไข" เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาในบทความ]]
คำสั่งวิกิพื้นฐานที่สำคัญที่สุดคือ [[/กระดาษทด/|การแก้ไขหน้า]] โดยหน้าในวิกิเกือบทั้งหมด (ยกเว้น[[วิกิพีเดีย:นโยบายการล็อก|หน้าที่ถูกล็อก]]) สามารถแก้ไขได้โดยผู้เขียนทุกคน ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ในการสร้างเว็บ ที่รู้จักกันในชื่อ [[วิกิ]] ปุ่มข้อความว่า "แก้ไข" จะแสดงไว้ในส่วนหัวเหมือนดังรูป โดยเมื่อกดเข้าไปแล้ว หน้าแก้ไขจะปรากฏขึ้นมาแทน และแล้วคุณก็จะสามารถทำการเปลี่ยนแปลงหน้าบทความผ่านกล่องข้อความตรงกลางหน้าได้ทันที ไม่ว่าจะล็อกอินหรือไม่ก็ตาม (ลองเขียนเล่นได้ที่หน้า [[/กระดาษทด/]] และกดปุ่มแก้ไขด้านบน) คุณสามารถทดลองใส่ข้อความ หรือใส่สิ่งอะไรก็ได้ที่น่าสนใจหรืออยากเขียนลงไป ซึ่งเมื่อทำการบันทึก ข้อความที่คุณเขียนไปจะแสดงขึ้นทันที (ไม่ได้แก้ไขหน้านี้นะ)


== ดูตัวอย่าง ==
เครือข่าย เช่น VATSIM ได้อธิบายเสนอประสบการณ์ที่เข้มงวดมากกับระดับสูงของมาตรฐานการฝึกอบรมและสกุลเงินแม้สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องแล้วในโลกบิน. เครือข่ายที่ได้รับการเน้นว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาของ การจำลองการบินเป็นซอฟต์แวร์สินค้า.
คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "{{Mediawiki:Showpreview}}" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณ'''ต้อง'''กดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]] และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง


ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วน[[วิกิพีเดีย:หน้าประวัติ|ประวัติของหน้า]] จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์
'''ภูมิศาสตร์'''


== คำอธิบายอย่างย่อ ==
VATSIM แบ่งเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แยกแต่ละขั้นตอนการดำเนินงานแตกต่างกันเล็กน้อยเพื่อจัดการกับความแตกต่างของท้องถิ่นต่างๆ VATSIM แบ่งออกเป็นหกภูมิภาคที่แบ่งเป็นอีกหน่วยงานเฉพาะประเทศ แผนกตัวแบ่งเป็นเที่ยวบินข้อมูลภูมิภาค (firs) Virtual Area Control Centers (vACCs) และ Air Route Traffic Control Centers (ARTCCs) .
[[File:Edit summary-th.png|right|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]]

ตาม[[วิกิพีเดีย:มารยาทในวิกิพีเดีย|มารยาทในวิกิพีเดีย]]แล้ว ก่อนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" คุณสามารถเขียนลงไปใน [[วิกิพีเดีย:คำอธิบายอย่างย่อ|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]] เพื่อบอกว่าได้แก้ไขส่วนใดไป ซึ่งกล่องนี้จะอยู่ด้านล่างข้างทุกหน้า อยู่เหนือปุ่มบันทึกและปุ่มดูตัวอย่าง การเขียนคำอธิบายอย่างย่อนี้ช่วยบอกให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ เข้าใจว่าเราได้ทำอะไรลงไป ตัวอย่างการเขียนเช่นใส่คำว่า "แก้คำผิด" หรือ "จัดรูปแบบ" หรือ "ใส่ภาพ"

นอกจากนี้ถ้าคุณได้แก้ไขเล็กน้อย เช่น การแก้คำผิด หรือการจัดรูปแบบเล็กน้อย คุณอาจจะพิจารณาเลือกเครื่องหมายถูกในช่อง [[วิกิพีเดีย:การแก้ไขเล็กน้อย|การแก้ไขเล็กน้อย]] (คำสั่งนี้จะแสดงขึ้นมาต่อเมื่อคุณได้ทำการล็อกอินเท่านั้น)

{{clear}}
<div style="float:left; align:left; background-color: #f5faff; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #cee0f2;">'''ทดลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]]'''</div>

<div style="float:right; margin-top: 0.0em; margin-bottom:3px; background-color: #cee0f2; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #a3b1bf;">'''ต่อด้วย [[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (จัดรูปแบบ)|จัดรูปแบบ]]''' <span style="font-size: larger; font-weight: bold;">→</span></div>
</div>
<div style="clear:both"></div>
</div>

[[หมวดหมู่:สอนการใช้งานวิกิพีเดีย|1]]

[[als:Wikipedia:Tutorial/1]]
[[ast:Ayuda:Tutorial (Edición)]]
[[ms:Wikipedia:Tutorial (Menyunting)]]
[[bg:Уикипедия:Наръчник/Редактиране]]
[[cs:Wikipedie:Průvodce (editování)]]
[[de:Wikipedia:Tutorial/1]]
[[el:Βικιπαίδεια:Οδηγός για νέους χρήστες/Επεξεργασία]]
[[en:Wikipedia:Tutorial (Editing)]]
[[es:Ayuda:Tutorial (Edición)]]
[[fa:ویکی‌پدیا:خودآموز (ویرایش)]]
[[hr:Wikipedija:Tečaj (Uređivanje članaka)]]
[[it:Aiuto:Guida essenziale/Modificare]]
[[lv:Wikipedia:Pamācība (Rediģēšana)]]
[[mt:Għajnuna:Tutorial/Kif timmodifika]]
[[pt:Wikipedia:Tutorial/Edição]]
[[sk:Wikipédia:Príručka/Upravovanie]]
[[sr:Википедија:Упутства/Уређивање чланака]]
[[sv:Wikipedia:ABC i Wikipedia-redigering]]
[[vi:Wikipedia:Sách hướng dẫn/Viết bài]]
[[zh:Wikipedia:使用指南 (编辑)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:59, 24 กันยายน 2553

อารัมภบท วิธีการแก้ไข การจัดรูปแบบ ลิงก์ การอ้างอิง
แหล่งที่มา
 หน้าคุย จำไว้ว่า ลงทะเบียน ท้ายสุด  

การแก้ไขวิกิพีเดียขั้นต้น

กด "แก้ไข" เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาในบทความ
กด "แก้ไข" เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาในบทความ

คำสั่งวิกิพื้นฐานที่สำคัญที่สุดคือ การแก้ไขหน้า โดยหน้าในวิกิเกือบทั้งหมด (ยกเว้นหน้าที่ถูกล็อก) สามารถแก้ไขได้โดยผู้เขียนทุกคน ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ในการสร้างเว็บ ที่รู้จักกันในชื่อ วิกิ ปุ่มข้อความว่า "แก้ไข" จะแสดงไว้ในส่วนหัวเหมือนดังรูป โดยเมื่อกดเข้าไปแล้ว หน้าแก้ไขจะปรากฏขึ้นมาแทน และแล้วคุณก็จะสามารถทำการเปลี่ยนแปลงหน้าบทความผ่านกล่องข้อความตรงกลางหน้าได้ทันที ไม่ว่าจะล็อกอินหรือไม่ก็ตาม (ลองเขียนเล่นได้ที่หน้า กระดาษทด และกดปุ่มแก้ไขด้านบน) คุณสามารถทดลองใส่ข้อความ หรือใส่สิ่งอะไรก็ได้ที่น่าสนใจหรืออยากเขียนลงไป ซึ่งเมื่อทำการบันทึก ข้อความที่คุณเขียนไปจะแสดงขึ้นทันที (ไม่ได้แก้ไขหน้านี้นะ)

ดูตัวอย่าง

คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "แสดงตัวอย่าง" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณต้องกดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ กระดาษทด และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม แสดงตัวอย่าง แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง

ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วนประวัติของหน้า จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์

คำอธิบายอย่างย่อ

กล่องคำอธิบายอย่างย่อ
กล่องคำอธิบายอย่างย่อ

ตามมารยาทในวิกิพีเดียแล้ว ก่อนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" คุณสามารถเขียนลงไปใน กล่องคำอธิบายอย่างย่อ เพื่อบอกว่าได้แก้ไขส่วนใดไป ซึ่งกล่องนี้จะอยู่ด้านล่างข้างทุกหน้า อยู่เหนือปุ่มบันทึกและปุ่มดูตัวอย่าง การเขียนคำอธิบายอย่างย่อนี้ช่วยบอกให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ เข้าใจว่าเราได้ทำอะไรลงไป ตัวอย่างการเขียนเช่นใส่คำว่า "แก้คำผิด" หรือ "จัดรูปแบบ" หรือ "ใส่ภาพ"

นอกจากนี้ถ้าคุณได้แก้ไขเล็กน้อย เช่น การแก้คำผิด หรือการจัดรูปแบบเล็กน้อย คุณอาจจะพิจารณาเลือกเครื่องหมายถูกในช่อง การแก้ไขเล็กน้อย (คำสั่งนี้จะแสดงขึ้นมาต่อเมื่อคุณได้ทำการล็อกอินเท่านั้น)

ทดลองเขียนได้ที่ กระดาษทด
ต่อด้วย จัดรูปแบบ