ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประมวลเรื่องปรัมปราโรมัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:اساطیر روم; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ตำนานเทพเจ้าโรมัน''' หรือ '''ตำนานเทพเจ้าละติน''' ({{lang-en|Roman mythology หรือ Latin mythology}}) หมายถึง[[ความเชื่อ]]เกี่ยวกับ[[ปรัมปราวิทยา|เทพเจ้า]]ของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน[[Latium|ลาติอุม]]และเมืองสำคัญๆ ใน[[คาบสมุทรอิตาลี]]ของ[[โรมันโบราณ]] ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจาก[[ตำนานเทพเจ้ากรีก]] อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับตำนานเทพเจ้ากรีกในสมัยต่อมา
'''ตำนานเทพเจ้าโรมัน''' หรือ '''ตำนานเทพเจ้าละติน''' ({{lang-en|Roman mythology หรือ Latin mythology}}) หมายถึง[[ความเชื่อ]]เกี่ยวกับ[[ปรัมปราวิทยา|เทพเจ้า]]ของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน[[Latium|ลาติอุม]]และเมืองสำคัญๆ ใน[[คาบสมุทรอิตาลี]]ของ[[โรมันโบราณ]] ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจาก[[ตำนานเทพเจ้ากรีก]] อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับตำนานเทพเจ้ากรีกในสมัยต่อมา


==ความเชื่อสมัยแรก==
== ความเชื่อสมัยแรก ==
โรมันไม่มีบทบรรยายเกี่ยวกับเทพเจ้าที่เทียบเท่ากับเรื่องราวของ “[[Titanomachy|สงครามไททัน]]” (Titanomachy) หรือ การล่อลวง[[ซูส]]โดย[[เทพีเฮรา]]เช่นเดียวกับของกรีก จนกระทั่งกวีโรมันเริ่มนำโครงสร้างของกรีกมาใช้ในตอนปลายสมัย[[สาธารณรัฐโรมัน]] แต่สิ่งที่โรมันมีคือ:
โรมันไม่มีบทบรรยายเกี่ยวกับเทพเจ้าที่เทียบเท่ากับเรื่องราวของ “[[Titanomachy|สงครามไททัน]]” (Titanomachy) หรือ การล่อลวง[[ซูส]]โดย[[เทพีเฮรา]]เช่นเดียวกับของกรีก จนกระทั่งกวีโรมันเริ่มนำโครงสร้างของกรีกมาใช้ในตอนปลายสมัย[[สาธารณรัฐโรมัน]] แต่สิ่งที่โรมันมีคือ:
::*ระบบอันมีโครงสร้างที่แน่นหนาของ ประเพณีการทำพิธี, วิทยาลัยนักบวช และ ระบบกลุ่มทวยเทพที่เกี่ยวข้องกัน (pantheons of related gods)
::* ระบบอันมีโครงสร้างที่แน่นหนาของ ประเพณีการทำพิธี, วิทยาลัยนักบวช และ ระบบกลุ่มทวยเทพที่เกี่ยวข้องกัน (pantheons of related gods)


::*ตำนานอันเต็มไปด้วยมนต์ขลังทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ โดยบุคคลต่างๆ ที่บางครั้งก็กล่าวกันว่าได้รับความช่วยเหลือจากเทพ
::* ตำนานอันเต็มไปด้วยมนต์ขลังทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ โดยบุคคลต่างๆ ที่บางครั้งก็กล่าวกันว่าได้รับความช่วยเหลือจากเทพ


โครงสร้างของความเชื่อ การให้คำนิยาม และความคิที่เกี่ยวกับเทพเจ้าของโรมันค่อนข้างจะแตกต่างเป็นอันมากจากของกรีก ตัวอย่างเช่นถ้าถ้าถามชาวกรีกเกี่ยวกับ[[เทพีดีมีเทอร์]]ก็อาจจะได้รับคำตอบเป็นเรื่องราวที่เป็นที่รู้จักกันถึงความโศรกเศร้าของดีมีเทอร์ขสกการลักตัว[[เพอร์เซฟะนี]]โดย[[เฮดีส]] แต่ชาวโรมันโบราณจะเล่าว่า[[เทพีเซเรส]]มีนักบวชที่เรียกว่า[[Flamen|ฟลาเมน]]ผู้มีอาวุุโสน้อยกว่าฟลาเมนของ[[เทพจูปิเตอร์]], [[เทพมาร์ส]] และ [[Quirinus|เทพควิรินัส]] แต่อาวุุโสมากกว่าฟลาเมนของ[[เทพีฟลอรา]] และ [[Pomona|เทพีโพโมนา]] และอาจจะบอกต่อไปว่าเป็นเทพีหนึ่งในกลุ่มเทพีสามองค์ของการเกษตรกรรม และยิ่งกว่านั้นก็อาจจะสามารถลำดับกลุ่มเทพรองที่มีหน้าที่เฉพาะในการเป็นบริวารของ[[เทพีดีมีเทอร์]] ที่รวมทั้งซาร์ริทอร์ (ผู้กำจัดวัชพืช), เมสซอร์ (เทพแห่งการเก็บเกี่ยว), คอนเว็คเตอร์ (เทพแห่งการขนผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว), คอนดิทอร์ (เทพแห่งการกักตุนเสบียง), อินซิทอร์ (เทพแห่งการหว่าน) และเทพอื่นๆ ในกลุ่มเดียวกันอีกเป็นอันมาก ซึ่งไม่ใช่การบรรยายเป็นเรื่องๆ เป็นราว แต่เป็นการลำดับเทพตามอันดับของความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน และ ของความสัมพันธ์ระหว่างเทพกับมนุษย์
โครงสร้างของความเชื่อ การให้คำนิยาม และความคิที่เกี่ยวกับเทพเจ้าของโรมันค่อนข้างจะแตกต่างเป็นอันมากจากของกรีก ตัวอย่างเช่นถ้าถ้าถามชาวกรีกเกี่ยวกับ[[เทพีดีมีเทอร์]]ก็อาจจะได้รับคำตอบเป็นเรื่องราวที่เป็นที่รู้จักกันถึงความโศรกเศร้าของดีมีเทอร์ขสกการลักตัว[[เพอร์เซฟะนี]]โดย[[เฮดีส]] แต่ชาวโรมันโบราณจะเล่าว่า[[เทพีเซเรส]]มีนักบวชที่เรียกว่า[[Flamen|ฟลาเมน]]ผู้มีอาวุุโสน้อยกว่าฟลาเมนของ[[เทพจูปิเตอร์]], [[เทพมาร์ส]] และ [[Quirinus|เทพควิรินัส]] แต่อาวุุโสมากกว่าฟลาเมนของ[[เทพีฟลอรา]] และ [[Pomona|เทพีโพโมนา]] และอาจจะบอกต่อไปว่าเป็นเทพีหนึ่งในกลุ่มเทพีสามองค์ของการเกษตรกรรม และยิ่งกว่านั้นก็อาจจะสามารถลำดับกลุ่มเทพรองที่มีหน้าที่เฉพาะในการเป็นบริวารของ[[เทพีดีมีเทอร์]] ที่รวมทั้งซาร์ริทอร์ (ผู้กำจัดวัชพืช), เมสซอร์ (เทพแห่งการเก็บเกี่ยว), คอนเว็คเตอร์ (เทพแห่งการขนผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว), คอนดิทอร์ (เทพแห่งการกักตุนเสบียง), อินซิทอร์ (เทพแห่งการหว่าน) และเทพอื่นๆ ในกลุ่มเดียวกันอีกเป็นอันมาก ซึ่งไม่ใช่การบรรยายเป็นเรื่องๆ เป็นราว แต่เป็นการลำดับเทพตามอันดับของความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน และ ของความสัมพันธ์ระหว่างเทพกับมนุษย์
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
ศาสนาดั้งเดิมของโรมันในสมัยแรกๆ ได้รับการขยายพัฒนาต่อมาโดยการเพิ่มเติมความเชื่ออีกมากมายที่บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง และโดยการผสาน[[ตำนานเทพเจ้ากรีก]]เข้ามาเป็นอันมาก ความรู้เกี่ยวกับศาสนาของโรมันโบราณเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่มิได้มาจากนักเขียนร่วมสมัยแต่เป็นความรู้ที่ได้มาจากนักเขียนในสมัยต่อมาที่พยายามแสวงหาประเพณีโบราณสิ่งที่สูญหายไป เช่นจากนักปราชญ์[[Marcus Terentius Varro|มาร์คัส เทอเรนเชียส วาร์โร]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 นักเขียนคลาสสิคผู้อื่นเช่นกวี[[โอวิด]] ใน “[[Fasti|ปฏิทิน]]” (Fasti) ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากโครงสร้างของ[[อารยธรรมเฮเลนนิสติค]] ที่มักจะใช้ความเชื่อของกรีกในการปิดช่องว่างที่มีอยู่ของความเชื่อโรมันในงานเขียนของตนเอง
ศาสนาดั้งเดิมของโรมันในสมัยแรกๆ ได้รับการขยายพัฒนาต่อมาโดยการเพิ่มเติมความเชื่ออีกมากมายที่บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง และโดยการผสาน[[ตำนานเทพเจ้ากรีก]]เข้ามาเป็นอันมาก ความรู้เกี่ยวกับศาสนาของโรมันโบราณเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่มิได้มาจากนักเขียนร่วมสมัยแต่เป็นความรู้ที่ได้มาจากนักเขียนในสมัยต่อมาที่พยายามแสวงหาประเพณีโบราณสิ่งที่สูญหายไป เช่นจากนักปราชญ์[[Marcus Terentius Varro|มาร์คัส เทอเรนเชียส วาร์โร]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 นักเขียนคลาสสิคผู้อื่นเช่นกวี[[โอวิด]] ใน “[[Fasti|ปฏิทิน]]” (Fasti) ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากโครงสร้างของ[[อารยธรรมเฮเลนนิสติค]] ที่มักจะใช้ความเชื่อของกรีกในการปิดช่องว่างที่มีอยู่ของความเชื่อโรมันในงานเขียนของตนเอง


===ตำนานเทพเจ้าโรมันสมัยแรก ===
=== ตำนานเทพเจ้าโรมันสมัยแรก ===
ตรงกันข้ามกับการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับเทพต่างๆ โรมันจะมีตำนานมากมายที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ นอกไปจากเรื่องราวที่เล่าขานกันตามท้องถิ่น ก็มีการเพิ่มเติมตำนานวีรบุรุษของกรีกที่ปะติดปะต่อกับตำนานพื้นบ้านโรมันมาตั้งแต่สมัยแรก ตัวอย่างเช่น[[อีเนียส]]ของโรมันก็ถูกดึงไปเป็นสามีของ[[Lavinia|ลาวิเนีย]]พระราชธิดาของกษัตริย์[[Latinus|ลาตินัส]]ผู้เป็นบรรพบุรุษของ[[ภาษาละติน|ชนละติน]] ฉะนั้นจึงเป็นบรรพบุรุษของ[[รอมิวลุส และรีมุส]] ฉะนั้นตำนานเกี่ยวกับโทรจันจึงกลายเป็นตำนานลึกลับเกี่ยวกับบรรบุรุษของชาวโรมัน ซึ่งเป็นสาเหตุให้ทหารม้าโรมันแต่งเครื่องแบบที่มาจากภาพวาดของ[[ทรอย|โทรจัน]] กวีนิพนธ์ “[[Aeneid|เอนิอิด]]” (Aeneid) และ หนังสือสองสามเล่มแรกโดยนักประวัติศาสตร์โรมัน[[Livy|ลิวี]]” (Livy) เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดเกี่ยวกับปรำปราวิทยาของมนุษย์ดังกล่าว
ตรงกันข้ามกับการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับเทพต่างๆ โรมันจะมีตำนานมากมายที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ นอกไปจากเรื่องราวที่เล่าขานกันตามท้องถิ่น ก็มีการเพิ่มเติมตำนานวีรบุรุษของกรีกที่ปะติดปะต่อกับตำนานพื้นบ้านโรมันมาตั้งแต่สมัยแรก ตัวอย่างเช่น[[อีเนียส]]ของโรมันก็ถูกดึงไปเป็นสามีของ[[Lavinia|ลาวิเนีย]]พระราชธิดาของกษัตริย์[[Latinus|ลาตินัส]]ผู้เป็นบรรพบุรุษของ[[ภาษาละติน|ชนละติน]] ฉะนั้นจึงเป็นบรรพบุรุษของ[[รอมิวลุส และรีมุส]] ฉะนั้นตำนานเกี่ยวกับโทรจันจึงกลายเป็นตำนานลึกลับเกี่ยวกับบรรบุรุษของชาวโรมัน ซึ่งเป็นสาเหตุให้ทหารม้าโรมันแต่งเครื่องแบบที่มาจากภาพวาดของ[[ทรอย|โทรจัน]] กวีนิพนธ์ “[[Aeneid|เอนิอิด]]” (Aeneid) และ หนังสือสองสามเล่มแรกโดยนักประวัติศาสตร์โรมัน[[Livy|ลิวี]]” (Livy) เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดเกี่ยวกับปรำปราวิทยาของมนุษย์ดังกล่าว


บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ในกลุ่มเทพของสมัยแรกก็มีไตรเทพ (triad) ที่สำคัญคือ [[เทพจูปิเตอร์]], [[เทพมาร์ส]] และ [[Quirinus|เทพควิรินัส]] เทพในสมัยแรกมักจะไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สำคัญ และประวัติก็ไม่มีเรื่องราวของการสมรสหรือบรรพบุรุษ ซึ่งไม่เหมือนกับเทพเจ้ากรีกเพราะจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์เดินดิน ฉะนั้นจึงแทบจะไม่มีเรื่องราวของกิจการที่กระทำ
ในกลุ่มเทพของสมัยแรกก็มีไตรเทพ (triad) ที่สำคัญคือ [[เทพจูปิเตอร์]], [[เทพมาร์ส]] และ [[Quirinus|เทพควิรินัส]] เทพในสมัยแรกมักจะไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สำคัญ และประวัติก็ไม่มีเรื่องราวของการสมรสหรือบรรพบุรุษ ซึ่งไม่เหมือนกับเทพเจ้ากรีกเพราะจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์เดินดิน ฉะนั้นจึงแทบจะไม่มีเรื่องราวของกิจการที่กระทำ


==เทพจากต่างแดน==
== เทพจากต่างแดน ==
เมื่อจักรวรรดิโรมันขยายตัวออกไปก็นำเอาประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของบ้างเมืองต่างๆ เข้ามาผสมผสานกับเทพเจ้าของโรมันเอง ชาวโรมันที่ไปทำการพิชิตดินแดนต่างๆ ก็มักจะให้เกียรติแก่เทพเจ้าของท้องถิ่นที่ทำการพิชิตได้ในระดับเดียวกับเทพเจ้าเดิมของโรมันเอง และในบางกรณีชาวโรมันก็จะอัญเชิญเทพเจ้าจากต่างแดนเข้ามาพำนักในเทวสถานในกรุงโรมที่จัดตั้งให้
เมื่อจักรวรรดิโรมันขยายตัวออกไปก็นำเอาประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของบ้างเมืองต่างๆ เข้ามาผสมผสานกับเทพเจ้าของโรมันเอง ชาวโรมันที่ไปทำการพิชิตดินแดนต่างๆ ก็มักจะให้เกียรติแก่เทพเจ้าของท้องถิ่นที่ทำการพิชิตได้ในระดับเดียวกับเทพเจ้าเดิมของโรมันเอง และในบางกรณีชาวโรมันก็จะอัญเชิญเทพเจ้าจากต่างแดนเข้ามาพำนักในเทวสถานในกรุงโรมที่จัดตั้งให้


บรรทัด 31: บรรทัด 31:
* Lexicon Iconographicum Mythologiae Classicae (LIMC) (1981-1999) Artemis-Verlag, 9 volumes.
* Lexicon Iconographicum Mythologiae Classicae (LIMC) (1981-1999) Artemis-Verlag, 9 volumes.


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[เทพเจ้ากรีก]]
* [[เทพเจ้ากรีก]]


บรรทัด 38: บรรทัด 38:


{{เรียงลำดับ|ตำนานเทพเจ้าโรมัน}}
{{เรียงลำดับ|ตำนานเทพเจ้าโรมัน}}

[[หมวดหมู่:เทพเจ้าโรมัน|*]]
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าโรมัน|*]]


บรรทัด 56: บรรทัด 57:
[[et:Vanarooma mütoloogia]]
[[et:Vanarooma mütoloogia]]
[[eu:Erromatar mitologia]]
[[eu:Erromatar mitologia]]
[[fa:اساطیر روم]]
[[fi:Roomalainen mytologia]]
[[fi:Roomalainen mytologia]]
[[fr:Mythologie romaine]]
[[fr:Mythologie romaine]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:41, 17 กันยายน 2553

เทพีเซเรสเทพีผู้พิทักษ์การเจริญเติบโตของธัญพืช

ตำนานเทพเจ้าโรมัน หรือ ตำนานเทพเจ้าละติน (อังกฤษ: Roman mythology หรือ Latin mythology) หมายถึงความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลาติอุมและเมืองสำคัญๆ ในคาบสมุทรอิตาลีของโรมันโบราณ ที่อาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งที่เป็นความเชื่อสมัยต่อมาและความเชื่อทางวรรณกรรมที่ประกอบด้วยความเชื่อที่มาจากตำนานเทพเจ้ากรีก อีกส่วนหนึ่งเป็นความเชื่อเดิมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าอิทธิพลกรีกที่มีลักษณะที่ค่อนข้างจะแตกต่างกับตำนานเทพเจ้ากรีกในสมัยต่อมา

ความเชื่อสมัยแรก

โรมันไม่มีบทบรรยายเกี่ยวกับเทพเจ้าที่เทียบเท่ากับเรื่องราวของ “สงครามไททัน” (Titanomachy) หรือ การล่อลวงซูสโดยเทพีเฮราเช่นเดียวกับของกรีก จนกระทั่งกวีโรมันเริ่มนำโครงสร้างของกรีกมาใช้ในตอนปลายสมัยสาธารณรัฐโรมัน แต่สิ่งที่โรมันมีคือ:

  • ระบบอันมีโครงสร้างที่แน่นหนาของ ประเพณีการทำพิธี, วิทยาลัยนักบวช และ ระบบกลุ่มทวยเทพที่เกี่ยวข้องกัน (pantheons of related gods)
  • ตำนานอันเต็มไปด้วยมนต์ขลังทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ โดยบุคคลต่างๆ ที่บางครั้งก็กล่าวกันว่าได้รับความช่วยเหลือจากเทพ

โครงสร้างของความเชื่อ การให้คำนิยาม และความคิที่เกี่ยวกับเทพเจ้าของโรมันค่อนข้างจะแตกต่างเป็นอันมากจากของกรีก ตัวอย่างเช่นถ้าถ้าถามชาวกรีกเกี่ยวกับเทพีดีมีเทอร์ก็อาจจะได้รับคำตอบเป็นเรื่องราวที่เป็นที่รู้จักกันถึงความโศรกเศร้าของดีมีเทอร์ขสกการลักตัวเพอร์เซฟะนีโดยเฮดีส แต่ชาวโรมันโบราณจะเล่าว่าเทพีเซเรสมีนักบวชที่เรียกว่าฟลาเมนผู้มีอาวุุโสน้อยกว่าฟลาเมนของเทพจูปิเตอร์, เทพมาร์ส และ เทพควิรินัส แต่อาวุุโสมากกว่าฟลาเมนของเทพีฟลอรา และ เทพีโพโมนา และอาจจะบอกต่อไปว่าเป็นเทพีหนึ่งในกลุ่มเทพีสามองค์ของการเกษตรกรรม และยิ่งกว่านั้นก็อาจจะสามารถลำดับกลุ่มเทพรองที่มีหน้าที่เฉพาะในการเป็นบริวารของเทพีดีมีเทอร์ ที่รวมทั้งซาร์ริทอร์ (ผู้กำจัดวัชพืช), เมสซอร์ (เทพแห่งการเก็บเกี่ยว), คอนเว็คเตอร์ (เทพแห่งการขนผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว), คอนดิทอร์ (เทพแห่งการกักตุนเสบียง), อินซิทอร์ (เทพแห่งการหว่าน) และเทพอื่นๆ ในกลุ่มเดียวกันอีกเป็นอันมาก ซึ่งไม่ใช่การบรรยายเป็นเรื่องๆ เป็นราว แต่เป็นการลำดับเทพตามอันดับของความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน และ ของความสัมพันธ์ระหว่างเทพกับมนุษย์

ศาสนาดั้งเดิมของโรมันในสมัยแรกๆ ได้รับการขยายพัฒนาต่อมาโดยการเพิ่มเติมความเชื่ออีกมากมายที่บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง และโดยการผสานตำนานเทพเจ้ากรีกเข้ามาเป็นอันมาก ความรู้เกี่ยวกับศาสนาของโรมันโบราณเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่มิได้มาจากนักเขียนร่วมสมัยแต่เป็นความรู้ที่ได้มาจากนักเขียนในสมัยต่อมาที่พยายามแสวงหาประเพณีโบราณสิ่งที่สูญหายไป เช่นจากนักปราชญ์มาร์คัส เทอเรนเชียส วาร์โรในคริสต์ศตวรรษที่ 1 นักเขียนคลาสสิคผู้อื่นเช่นกวีโอวิด ใน “ปฏิทิน” (Fasti) ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากโครงสร้างของอารยธรรมเฮเลนนิสติค ที่มักจะใช้ความเชื่อของกรีกในการปิดช่องว่างที่มีอยู่ของความเชื่อโรมันในงานเขียนของตนเอง

ตำนานเทพเจ้าโรมันสมัยแรก

ตรงกันข้ามกับการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับเทพต่างๆ โรมันจะมีตำนานมากมายที่เกี่ยวกับการก่อตั้งและความรุ่งเรืองของเมืองต่างๆ นอกไปจากเรื่องราวที่เล่าขานกันตามท้องถิ่น ก็มีการเพิ่มเติมตำนานวีรบุรุษของกรีกที่ปะติดปะต่อกับตำนานพื้นบ้านโรมันมาตั้งแต่สมัยแรก ตัวอย่างเช่นอีเนียสของโรมันก็ถูกดึงไปเป็นสามีของลาวิเนียพระราชธิดาของกษัตริย์ลาตินัสผู้เป็นบรรพบุรุษของชนละติน ฉะนั้นจึงเป็นบรรพบุรุษของรอมิวลุส และรีมุส ฉะนั้นตำนานเกี่ยวกับโทรจันจึงกลายเป็นตำนานลึกลับเกี่ยวกับบรรบุรุษของชาวโรมัน ซึ่งเป็นสาเหตุให้ทหารม้าโรมันแต่งเครื่องแบบที่มาจากภาพวาดของโทรจัน กวีนิพนธ์ “เอนิอิด” (Aeneid) และ หนังสือสองสามเล่มแรกโดยนักประวัติศาสตร์โรมันลิวี” (Livy) เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดเกี่ยวกับปรำปราวิทยาของมนุษย์ดังกล่าว

ประเพณีปฏิบัติต่างๆ โดยนักบวชของทางการของโรมันก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สร้างความแตกต่างของเทพสองระดับ “di indigetes” และ “di novensides”/“novensiles” กลุ่ม “di indigetes” หมายถึงทวยเทพดั้งเดิมของโรมัน ชื่อและรายละเอียดของเทพกลุ่มนี้ระบุด้วยตำแหน่งของนักบวชรุ่นแรกที่สุดและโดยวันเทศกาลที่เฉพาะเจาะจงที่มีด้วยกัน 30 องค์ที่มีเทศกาลที่ระบุอย่างเฉพาะเจาะจง ส่วน “di novensides”/“novensiles” คือเทพรุ่นต่อมาที่เข้ามาตามเมืองต่างๆ ในภายหลัง และมักจะทราบเวลาที่เข้ามาตามความจำเป็นของสถานการณ์หรือวิกฤติการณ์ ทวยเทพดั้งเดิมนอกไปจาก “di indigetes” เป็นกลุ่มทวยเทพที่เรียกว่า “เทพเฉพาะกิจ” เช่นเทพแห่งการเก็บเกี่ยว เศษชิ้นส่วนจากประเพณีที่เกี่ยวข้องกับกิจการต่างๆ เช่นการไถหรือการหว่านทำให้เราทราบว่ากระบวนการทุุกขั้นตอนของกิจการของโรมันต่างก็มีเทพเฉพาะกิจต่างๆ กันไป ชื่อของเทพก็จะมาจากคำกิริยาของกิจการที่กระทำ เทพเหล่านี้ก็จะจัดเป็นกลุ่มภายใต้กลุ่มกว้างๆ หรือ กลุ่มเทพสนับสนุน (attendant หรือ auxiliary gods) ผู้ที่จะได้รับการกล่าวนามพร้อมกับเทพระดับสูง

เทพเฉพาะกิจและเทศกาลที่เกี่ยวข้องทำให้เราทราบว่าชาวโรมันสมัยแรกนอกจากจะเป็นกลุ่มชนที่เป็นสังคมเกษตรกรรม แต่ยังเป็นสังคมที่นิยมการต่อสู้ และ มักจะนิยมการทำสงคราม นอกจากจะมีเทพเฉพาะกิจในด้านการเกษตรแล้วชาวโรมันก็ยังมีเทพเฉพาะกิจในกิจการประจำวันที่ต้องทำการสักการะบูชาตามความเหมาะสมด้วย ฉะนั้นเทพแจนัส และ เทพีเวสตาก็จะเป็นผู้รักษาประตูและเตาผิง, เทพลารีสพิทักษ์ที่ดินและบ้าน, เทพพาลีสพิทักษ์ท้องทุ่ง, เทพแซทเทิร์นพิทักษ์การหว่าน, เทพีเซเรสพิทักษ์การเจริญเติบโตของธัญพืช, เทพีโพโมนาพิทักษ์ผลไม้ และ เทคอนซัสพิทักษ์ธัญญาหารและสถานที่เก็บรักษาธัญญาหาร และ เทพีอ็อพสพิทักษ์การเก็บเกี่ยวและเป็นเทพีแห่งการเจริญพันธุ์ แม้แต่เทพจูปิเตอร์ผู้เป็นประมุขของทวยเทพก็ยังทรงเป็นเทพที่ช่วยให้ฝนตกเพื่อช่วยในการเกษตรกรรม และคุณลักษณะทั่วไปของพระองค์จากการที่ทรงมีสายฟ้าเป็นอาวุธทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้อำนวยการของกิจการที่มนุษย์กระทำ และการที่ทรงมีอำนาจอันยิ่งใหญ่และกว้างขวางทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์กิจการทางทหารของชาวโรมันที่นอกไปจากในบริเวณเขตแดนของตนเอง เทพเจ้าสำคัญในสมัยแรกก็ได้แก่เทพมาร์ส และ เทพควิรินัส ผู้มักจะเป็นเทพในกลุ่มเดียวกัน เทพมาร์สเป็นเทพเจ้าแห่งการสงครามที่ทำการฉลองกันในเดือนมีนาคมและตุลาคม ส่วนเทพควิรินัสเชื่อกันโดยนักวิชาการสมัยใหม่ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งประชาคมผู้ถืออาวุธในยามสันติ

ในกลุ่มเทพของสมัยแรกก็มีไตรเทพ (triad) ที่สำคัญคือ เทพจูปิเตอร์, เทพมาร์ส และ เทพควิรินัส เทพในสมัยแรกมักจะไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สำคัญ และประวัติก็ไม่มีเรื่องราวของการสมรสหรือบรรพบุรุษ ซึ่งไม่เหมือนกับเทพเจ้ากรีกเพราะจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์เดินดิน ฉะนั้นจึงแทบจะไม่มีเรื่องราวของกิจการที่กระทำ

เทพจากต่างแดน

เมื่อจักรวรรดิโรมันขยายตัวออกไปก็นำเอาประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของบ้างเมืองต่างๆ เข้ามาผสมผสานกับเทพเจ้าของโรมันเอง ชาวโรมันที่ไปทำการพิชิตดินแดนต่างๆ ก็มักจะให้เกียรติแก่เทพเจ้าของท้องถิ่นที่ทำการพิชิตได้ในระดับเดียวกับเทพเจ้าเดิมของโรมันเอง และในบางกรณีชาวโรมันก็จะอัญเชิญเทพเจ้าจากต่างแดนเข้ามาพำนักในเทวสถานในกรุงโรมที่จัดตั้งให้

อ้างอิง

  • Alan Cameron Greek Mythography in the Roman World (2005) OUP, Oxford (reviewed by T P Wiseman in Times Literary Supplement 13 May 2005 page 29)
  • Lexicon Iconographicum Mythologiae Classicae (LIMC) (1981-1999) Artemis-Verlag, 9 volumes.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ตำนานเทพเจ้าโรมัน