ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบน์ ซีนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: nn:Ibn-Sinâ
Doramenon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:IbnSina-Dushanbe.jpg|thumb|อนุสาวรีย์ของอวิเซนนา ใน[[ดูชานเบ]]]]
'''อวิเซนนา''' ({{lang-en|Avicenna}}) (ค.ศ. 980-1037) เป็นนักปราชญ์[[ชาวเปอร์เซีย]] ที่มีบทบาทด้าน[[สาธารณสุข]] เมื่อเกิดวิกฤตการณ์แผ่ระบาดโรคในอาณาจักร เขายังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของเจ้าชายต่าง ๆ ในช่วงบั้นท้ายชีวิตเขาได้เป็นรัฐมนตรีของรัฐ เขายังเขียนหนังสือ[[ปทานุกรม]]คำศัพท์, สารานุกรมศัพท์ ในหัวข้อต่างๆ เช่น[[การแพทย์]], ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ, ดนตรี, [[เศรษฐศาสตร์]]และ[[รัฐศาสตร์]] ยังเป็น[[กวี]] ที่มีผลงานได้รับความนิยมในโลกอาหรับ ผลงานที่สำคัญที่สุดคือ ชุด ''Canon of Medicine'' ที่นำรากฐานมาจาก[[ฮิปโปเครติส]], [[อริสโตเติล]],[[ไดออสครอไรด์]], [[กาเลน]] และบุคคลสำคัญวงการแพทย์อื่น ที่มีแทรกทฤษฏีและการสังเกตของเขา


อิบนุ ซีนา หรือที่ชาวยุโรปเรียกันว่า เอวิเซ็นนา(Avicenna) เป็นนักวิทยาศาสตร์มุสลิมคนหนึ่ง ที่เกิดในปี ค.ศ.980 ในดินแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือของอาณาจักรอับบาสิด (อุสเบกิสถานปัจจุบัน) บิดาของเขาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดท้องถิ่นแห่งหนึ่งของเปอร์เซีย และเป็นนักวิชาการมีเกียรติ อิบนุซีนาจึงพูดภาษาเปอร์เซียเช่นเดียวกับผู้มีการศึกษาในส่วนอื่นๆ ของโลก เขาเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดมาก สามารถจดจำอัล-กุรอานได้ทั้งเล่มเมื่ออายุได้เพียงเจ็ดขวบ ทั้งที่ภาษาอาหรับไม่ใช่ภาษาของเขา ในขณะที่ยังเป็นเด็กอยู่นั้น เขาได้เรียนรู้ระบบการนับเลขแบบอินเดียจากครูที่เป็นนักเดินทาง เมื่ออิบนุซีนาอายุสิบแปดปี เขาประสบความสำเร็จในการเป็นหมอที่รักษาผู้ป่วยให้หายได้จำนวนมาก
และหนังสืออีกชุดของเขามีเนื้อหาทางด้าน[[เภสัชวิทยา]]ต้นไม้สมุนไพร ถือเป็นตำราพื้นฐานแพทย์ที่สำคัญของโลกมุสลิมและคริสเตียน แต่ทฤษฎีของเขาก็ดูด้อยความเชื่อถือลงเมื่อ[[ลีโอนาร์โด ดา วินชี]] ปฏิเสธตำรา[[กายวิภาค]]ของเขา, [[พาราเซลลัส]] เผาสำเนาตำรา ''Canon of Medicine'' ที่ใช้สอนกันใน[[สวิสเซอร์แลนด์]] และ[[วิลเลียม ฮาร์วีย์]] แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ ล้มทฤษฎีของเขาในเรื่องการค้นพบ[[ระบบหมุนเวียนโลหิต]]ในร่างกายคน<ref>[http://www.gpo.or.th/various_pharmacy/persons/Avicenna.html อวิเซนนา ( Avicenna ) ค.ศ. 980-1037]</ref>


== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{birth|980}}
{{death|1037}}
{{โครงชีวประวัติ}}


อิบนุซีนากลายเป็นหมอ ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งสุลต่านนูฮฺ อิบนฺ มันซูรฺ แห่งบุคอรอได้มาหาเขาเพื่อให้ช่วยรักษาอาหารป่วย เมื่ออิบนุซีนาสามารถรักษาอาการป่วยของสุลต่านผู้นั้นได้ สุลต่านจึงให้เขาทำงานเป็นแพทย์ประจำพระองค์ ซึ่งขณะนั้นอิบนุซีนามีอายุแค่ 18 ปีเท่านั้น เมื่อได้เป็นแพทย์ประจำพระองค์ของสุลต่านแล้ว อิบนุซีนาก็ได้อ่านหนังสือหายากหลายเล่มจากในห้องสมุดของสุลต่าน
[[หมวดหมู่:นักปราชญ์]]
[[หมวดหมู่:ชาวเปอร์เซีย]]


อิบนุซีนามีแนวคิดทาง วิทยาศาสตร์ใหม่ๆ หลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออายุได้ยี่สิบปี อิบนุซีนาเป็นบุคคลแรกที่ "แรงกระตุ้นเป็นสัดส่วนของอัตราความเร็ว" นี่คือสมการพื้นฐานที่อธิบายแรงผลักดันในทุกวันนี้ เขายังอ้างเหตุผลด้วยว่า วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ในสุญญากาศนั้นยังคงเคลื่อนที่ไปโดยไม่ชะลอความเร็ว ลง ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้องอีกเช่นกัน อิบนุซีนายังได้กล่าวไว้อีกว่า นักวิทยาศาสนาจะไม่มีทางประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนโลหะอย่างตะกั่ว หรือทองแดง ให้กลายเป็นทองได้ ถึงแม้ว่านักวิทยาศาสตร์หลายคนจะพยายามทดลอง
[[an:Avicena]]

[[ar:ابن سينا]]
ตำราทางการแพทย์ของอิบนุซีนาตั้งแต่ ค.ศ. 1000 เป็นต้นมา
[[arz:ابن سينا]]

[[az:İbn Sina]]

[[ba:Әбүғәлисина]]
อิบนุซีนายังได้เขียน ตำราทางการแพทย์เป็นภาษาอาหรับไว้ด้วยเช่นกัน ซึ่งแพทย์ได้ใช้กันทั่วอาณาจักรอับบาสิด และเมื่อตำรานี้ถูกแปลเป็นภาษาละติน ก็ได้ถูกนำมาใช้ไปทั่วทั้งยุโรปเช่นกัน ตลอดช่วงสมัยของยุคกลาง อิบนุซีนายังอาจจะเป็นบุคคลแรกที่ได้รู้ว่า คนเราสามารถติดเชื้อโรคต่างๆ จากคนด้วยกัน เช่นโรคหัด ไข้ทรพิษ หรือวัณโรค ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีใครรู้จักเชื้อโรคเลย เพราะยังไม่มีกล้องจุลทรรศน์
[[bat-smg:Avėcena]]

[[be:Авіцэна]]
เมื่อสุลต่านสิ้นพระ ชนม์ลง รัชทายาทชื่อ อะลี อิบนฺ ชามส์ อัล-เดาลา ได้ขอให้อิบนุซีนาดำรงตำแหน่งเป็นแพทย์ประจำพระองค์ต่อไป แต่เขาตกลงที่จะเข้าร่วมกับกองกำลังของโอรสของสุลต่านอีกคนหนึ่ง คือ อะลา อัล-เดาลา และจึงต้องหลบซ่อนตัว ในระหว่างช่วงเวลานี้เอง เขาได้เขียนตำราเกี่ยวกับหลักปราชญาที่สำคัญเล่มหนึ่ง คือ "กิตาบุล-ชีฟา" (หนังสือเรื่องการเยียวยา) ครอบคลุมในเรื่องที่เกี่ยวกับวิชาตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไปจนถึงเรื่องกายภาพหรือฟิสิกส์และชีวิตหลังความตาย ในขณะที่กำลังเขียนเรื่องเกี่ยวกับวิชาตรรกศาสตร์นั้น อิบนุซีนาถูกจับกุมไปคุมขัง แต่เขาหนีรอดไปได้และปลอมตัวเป็นซูฟีไปยังอิสฟาฮานเพื่อสมทบกับอะลา อัล-เดาลา
[[bg:Авицена]]

[[bn:ইবন সিনা]]
ในระหว่างนั้นเขาได้ เขียนหนังสืออีกหลายเล่มเช่น กิตาบุล นาญาต, อัล-มันติก และ อัล-อิสฮารอต วะ อิตันบิฮาต เป็นหนังสือเกี่ยวศาสนาและหลักตรรกศาสตร์ นอกจากนี้งานเขียนของเขายังรวมไปถึงหนังสือเกี่ยวกับเรื่องดาราศาสตร์, การแพทย์, ภาษาสาสตร์ และสัตวศาสตร์ด้วย อิบนุซีนายังเป็นนักกวีที่เขียนกวีได้อย่างไพเราะเช่นหนังสือ ฮัยย์ อิบนฺ ยักซัน อิบนุซีนายังทำงานเกี่ยวกับปรัชญาและการแพทย์ตลอดจนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ เมืองเรื่อยมาจนกระทั่งเขาเสียชีวิตhttp
[[br:Avisenna]]

[[bs:Ibn Sina]]
เครดิต://www.ahlulbait.org/main/content.php?page=sub&category=45&id=229
[[ca:Avicenna]]
[[ceb:Avicena]]
[[cs:Avicenna]]
[[cy:Avicenna]]
[[da:Avicenna]]
[[de:Avicenna]]
[[el:Αβικέννας]]
[[en:Avicenna]]
[[eo:Aviceno]]
[[es:Avicena]]
[[et:Ibn Sīnā]]
[[eu:Avizena]]
[[fa:ابن سینا]]
[[fi:Avicenna]]
[[fr:Avicenne]]
[[gan:伊本·西那]]
[[gl:Avicena]]
[[he:אבן סינא]]
[[hif:Avicenna]]
[[hr:Ibn Sina]]
[[hu:Avicenna]]
[[hy:Ավիցեննա]]
[[id:Ibnu Sina]]
[[is:Avicenna]]
[[it:Avicenna]]
[[ja:イブン=スィーナー]]
[[ka:იბნ სინა]]
[[kk:Ибн Сина]]
[[ko:이븐 시나]]
[[ku:Ibn Sîna]]
[[ky:Авиценна]]
[[la:Avicenna]]
[[lt:Avicena]]
[[lv:Avicenna]]
[[ml:ഇബ്നു സീന]]
[[ms:Abu Ali Al-Hussain Ibn Abdallah Ibn Sina]]
[[mwl:Abicena]]
[[nl:Avicenna]]
[[nn:Ibn-Sinâ]]
[[no:Avicenna]]
[[oc:Avicena]]
[[pl:Awicenna]]
[[pnb:ابن سینا]]
[[ps:ابن سينا بلخي]]
[[pt:Avicena]]
[[ro:Avicenna]]
[[ru:Ибн Сина]]
[[sah:Ибн Сина]]
[[sh:Ibn Sina]]
[[simple:Avicenna]]
[[sk:Avicenna]]
[[sl:Ibn Sina]]
[[so:Ibn Siinaa]]
[[sq:Avicena]]
[[sr:Ибн Сина]]
[[su:Ibnu Sina]]
[[sv:Avicenna]]
[[sw:Ibn Sina]]
[[ta:இபின் சீனா]]
[[te:ఇబ్నె సీనా]]
[[tg:Абӯалӣ Сино]]
[[tr:İbn-i Sina]]
[[tt:Әбу Гали ибн Сина]]
[[ug:ﺋﯩﺒﯩﻦ ﺳﯩﻨﺎ]]
[[uk:Авіценна]]
[[ur:ابن سینا]]
[[uz:Abu Ali ibn Sino]]
[[vi:Avicenna]]
[[war:Avicenna]]
[[yo:Avicenna]]
[[zh:伊本·西那]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:18, 9 กันยายน 2553

อิบนุ ซีนา หรือที่ชาวยุโรปเรียกันว่า เอวิเซ็นนา(Avicenna) เป็นนักวิทยาศาสตร์มุสลิมคนหนึ่ง ที่เกิดในปี ค.ศ.980 ในดินแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือของอาณาจักรอับบาสิด (อุสเบกิสถานปัจจุบัน) บิดาของเขาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดท้องถิ่นแห่งหนึ่งของเปอร์เซีย และเป็นนักวิชาการมีเกียรติ อิบนุซีนาจึงพูดภาษาเปอร์เซียเช่นเดียวกับผู้มีการศึกษาในส่วนอื่นๆ ของโลก เขาเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดมาก สามารถจดจำอัล-กุรอานได้ทั้งเล่มเมื่ออายุได้เพียงเจ็ดขวบ ทั้งที่ภาษาอาหรับไม่ใช่ภาษาของเขา ในขณะที่ยังเป็นเด็กอยู่นั้น เขาได้เรียนรู้ระบบการนับเลขแบบอินเดียจากครูที่เป็นนักเดินทาง เมื่ออิบนุซีนาอายุสิบแปดปี เขาประสบความสำเร็จในการเป็นหมอที่รักษาผู้ป่วยให้หายได้จำนวนมาก


อิบนุซีนากลายเป็นหมอ ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งสุลต่านนูฮฺ อิบนฺ มันซูรฺ แห่งบุคอรอได้มาหาเขาเพื่อให้ช่วยรักษาอาหารป่วย เมื่ออิบนุซีนาสามารถรักษาอาการป่วยของสุลต่านผู้นั้นได้ สุลต่านจึงให้เขาทำงานเป็นแพทย์ประจำพระองค์ ซึ่งขณะนั้นอิบนุซีนามีอายุแค่ 18 ปีเท่านั้น เมื่อได้เป็นแพทย์ประจำพระองค์ของสุลต่านแล้ว อิบนุซีนาก็ได้อ่านหนังสือหายากหลายเล่มจากในห้องสมุดของสุลต่าน

อิบนุซีนามีแนวคิดทาง วิทยาศาสตร์ใหม่ๆ หลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออายุได้ยี่สิบปี อิบนุซีนาเป็นบุคคลแรกที่ "แรงกระตุ้นเป็นสัดส่วนของอัตราความเร็ว" นี่คือสมการพื้นฐานที่อธิบายแรงผลักดันในทุกวันนี้ เขายังอ้างเหตุผลด้วยว่า วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ในสุญญากาศนั้นยังคงเคลื่อนที่ไปโดยไม่ชะลอความเร็ว ลง ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้องอีกเช่นกัน อิบนุซีนายังได้กล่าวไว้อีกว่า นักวิทยาศาสนาจะไม่มีทางประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนโลหะอย่างตะกั่ว หรือทองแดง ให้กลายเป็นทองได้ ถึงแม้ว่านักวิทยาศาสตร์หลายคนจะพยายามทดลอง

ตำราทางการแพทย์ของอิบนุซีนาตั้งแต่ ค.ศ. 1000 เป็นต้นมา


อิบนุซีนายังได้เขียน ตำราทางการแพทย์เป็นภาษาอาหรับไว้ด้วยเช่นกัน ซึ่งแพทย์ได้ใช้กันทั่วอาณาจักรอับบาสิด และเมื่อตำรานี้ถูกแปลเป็นภาษาละติน ก็ได้ถูกนำมาใช้ไปทั่วทั้งยุโรปเช่นกัน ตลอดช่วงสมัยของยุคกลาง อิบนุซีนายังอาจจะเป็นบุคคลแรกที่ได้รู้ว่า คนเราสามารถติดเชื้อโรคต่างๆ จากคนด้วยกัน เช่นโรคหัด ไข้ทรพิษ หรือวัณโรค ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีใครรู้จักเชื้อโรคเลย เพราะยังไม่มีกล้องจุลทรรศน์

เมื่อสุลต่านสิ้นพระ ชนม์ลง รัชทายาทชื่อ อะลี อิบนฺ ชามส์ อัล-เดาลา ได้ขอให้อิบนุซีนาดำรงตำแหน่งเป็นแพทย์ประจำพระองค์ต่อไป แต่เขาตกลงที่จะเข้าร่วมกับกองกำลังของโอรสของสุลต่านอีกคนหนึ่ง คือ อะลา อัล-เดาลา และจึงต้องหลบซ่อนตัว ในระหว่างช่วงเวลานี้เอง เขาได้เขียนตำราเกี่ยวกับหลักปราชญาที่สำคัญเล่มหนึ่ง คือ "กิตาบุล-ชีฟา" (หนังสือเรื่องการเยียวยา) ครอบคลุมในเรื่องที่เกี่ยวกับวิชาตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไปจนถึงเรื่องกายภาพหรือฟิสิกส์และชีวิตหลังความตาย ในขณะที่กำลังเขียนเรื่องเกี่ยวกับวิชาตรรกศาสตร์นั้น อิบนุซีนาถูกจับกุมไปคุมขัง แต่เขาหนีรอดไปได้และปลอมตัวเป็นซูฟีไปยังอิสฟาฮานเพื่อสมทบกับอะลา อัล-เดาลา

ในระหว่างนั้นเขาได้ เขียนหนังสืออีกหลายเล่มเช่น กิตาบุล นาญาต, อัล-มันติก และ อัล-อิสฮารอต วะ อิตันบิฮาต เป็นหนังสือเกี่ยวศาสนาและหลักตรรกศาสตร์ นอกจากนี้งานเขียนของเขายังรวมไปถึงหนังสือเกี่ยวกับเรื่องดาราศาสตร์, การแพทย์, ภาษาสาสตร์ และสัตวศาสตร์ด้วย อิบนุซีนายังเป็นนักกวีที่เขียนกวีได้อย่างไพเราะเช่นหนังสือ ฮัยย์ อิบนฺ ยักซัน อิบนุซีนายังทำงานเกี่ยวกับปรัชญาและการแพทย์ตลอดจนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ เมืองเรื่อยมาจนกระทั่งเขาเสียชีวิตhttp

เครดิต://www.ahlulbait.org/main/content.php?page=sub&category=45&id=229