ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองบุรีรัมย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:


==ประวัติเทศบาล==
==ประวัติเทศบาล==
เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ พุทธศักราช 2479 ซึ่งได้ตราขึ้นไว้ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2479? ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ซึ่งมี พ.อ.พหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนที่ 62 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2479
เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ [[พ.ศ. 2479|พุทธศักราช 2479]] ซึ่งได้ตราขึ้นไว้ ณ วันที่ [[11 กุมภาพันธ์]] 2479 ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] รัชกาลที่ 8 ซึ่งมี พ.อ.[[พหลพลหยุหเสนา]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] โดยได้ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 53 ตอนที่ 62 วันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] 2479
ต่อมาเมื่อท้องถิ่นเจริญขึ้น มีชุมชนอยู่หนาแน่นทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลที่ต่อเนื่องกันสมควรปรับปรุงเขตเทศบาลเสียใหม่ เพื่อขยายเขตให้เทศบาลได้ปกครองและทะนุบำรุงท้องถิ่น จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2504 ลงวันที่ 30 เมษายน 2504 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชการปัจจุบัน มีจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 40 วันที่ 9 พฤษภาคม 2504 มีเนื้อที่รวม 6.0 ตารางกิโลเมตร? สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งหมดของอำเภอเมืองบุรีรัมย์ โดยมีอาณาเขตตามที่ระบุไว้ในพระราชกฤษฎีกา ดังนี้


ต่อมาเมื่อท้องถิ่นเจริญขึ้น มีชุมชนอยู่หนาแน่นทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลที่ต่อเนื่องกันสมควรปรับปรุงเขต[[เทศบาล]]เสียใหม่ เพื่อขยายเขตให้เทศบาลได้ปกครองและทะนุบำรุงท้องถิ่น จึงได้ตราพระราชกฤษ[[ฎีกา]]เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[พ.ศ. 2504]] ลงวันที่ [[30 เมษายน]] 2504 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] รัชการปัจจุบัน มี[[จอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์]] เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 40 วันที่ [[9 พฤษภาคม]] 2504 มีเนื้อที่รวม 6.0 [[ตารางกิโลเมตร]] สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งหมดของ[[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] โดยมีอาณาเขตตามที่ระบุไว้ในพระราชกฤษ[[ฎีกา]] ดังนี้
=== อาณาเขต ===
====ด้านเหนือ====
ตั้งแต่หลักเขตที่ 1 ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่างจากทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ตรงหลัก กม.ที่ 375 ตามแนวเส้นตั้งฉาก 450 เมตร เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 2 ซึ่งตั้งอยู่ริมถนนพุทไธสงฟากตะวันออก ห่างจากทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา 650 เมตร


== อาณาเขต ==
====ด้านตะวันออก====
===ด้านเหนือ===
จากหลักเขตที่ 2 ?เลียบตามถนนพุทไธสงฟางตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 3 ?ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ จากหลักเขตที่ 3 เลียบตามทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 4 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - สตึก 380 เมตร จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ?ถึงหลักเขตที่ 5 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางเข้าวัดอิสาณฟากใต้ ห่างจากคลองละลม ฝั่งตะวันออก 40 เมตร จากหลักเขตที่ 5 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 6 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากคลองละลมฝั่งใต้ไปทางทิศใต้ 40 เมตร
ตั้งแต่หลักเขตที่ 1 ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่างจาก[[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|ทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา]] ตรงหลัก กม.ที่ 375 ตามแนวเส้นตั้งฉาก 450 [[เมตร]] เป็นเส้นตรงไปทาง[[ทิศตะวันออก]]เฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 2 ซึ่งตั้งอยู่ริม[[ถนนพุทไธสง]]ฟากตะวันออก ห่างจากทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา 650 เมตร


====ด้านใต้====
===ด้านตะวันออก===
จากหลักเขตที่ 6 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งใต้ไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 7 ?ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากคลองละลมฝั่งใต้ 40 เมตร จากหลักเขตที่ 7 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 8 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - ประโคนชัย ฟากตะวันออก ตรงหลัก กม.ที่ 640 จากหลักเขตที่ 8 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 9 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดง ฟากตะวันตก ตรงริมลำห้วยจรเข้มาก ฝั่งเหนือ
จากหลักเขตที่ 2 เลียบตามถนนพุทไธสงฟางตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 3 ?ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ จากหลักเขตที่ 3 เลียบตามทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือไปทาง[[ทิศตะวันออก]]เฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 4 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - สตึก 380 เมตร จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทาง[[ทิศตะวันตก]]เฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 5 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางเข้าวัดอิสาณฟากใต้ ห่างจากคลองละลม ฝั่งตะวันออก 40 เมตร จากหลักเขตที่ 5 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 6 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจาก[[คลองละลม]]ฝั่งใต้ไปทางทิศใต้ 40 เมตร


====ด้านตะวันตก====
===ด้านใต้===
จากหลักเขตที่ 6 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งใต้ไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 7 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจาก[[คลองละลม]]ฝั่งใต้ 40 [[เมตร]] จากหลักเขตที่ 7 เป็นเส้นตรงไปทาง[[ทิศตะวันตก]]เฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 8 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - ประโคนชัย ฟากตะวันออก ตรงหลัก กม.ที่ 640 จากหลักเขตที่ 8 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 9 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดง ฟากตะวันตก ตรงริมลำห้วยจรเข้มาก ฝั่งเหนือ

===ด้านตะวันตก===
จากหลักเขตที่ 9 เลียบตามทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดงฟากตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 10 ซึ่งตั้งอยู่ตรงหลัก กม.ที่ 1 จากหลักเขตที่ 10 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 11 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ ตรงหลัก กม.ที่ 375 จากหลักเขตที่ 11 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนบรรจบหลักเขตที่ 1
จากหลักเขตที่ 9 เลียบตามทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดงฟากตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 10 ซึ่งตั้งอยู่ตรงหลัก กม.ที่ 1 จากหลักเขตที่ 10 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 11 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ ตรงหลัก กม.ที่ 375 จากหลักเขตที่ 11 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนบรรจบหลักเขตที่ 1

==สถานที่สำคัญ==
===โรงเรียนสำคัญประจำเทศบาล===
* '''[[โรงเรียนเทศบาล 1]]''' ริมถนนจิระ
* '''[[โรงเรียนเทศบาล 2]]''' ริมถนนอิสาณ
* '''[[โรงเรียนเทศบาล 3]]''' ริมถนนเลี่ยงเมือง

===วัดสำคัญ===
* '''[[วัดกลางพระอารามหลวง]]'''

==การเดินทาง==
===[[รถโดยสารประจำทาง]]===
====สายกรุงเทพ-บุรีรัมย์====
ขึ้นรถได้ที่[[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)]] ([[สถานีหมอชิต|หมอชิต]]) มาลงที่[[สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์]] มีบริการทั้งกิจการทัวร์, บริษัทขนส่ง จำกัด,ศิริรัตนพลทัวร์

อัตราค่าโดยสารดังนี้
* '''รถปรับอากาศชั้น 1'''
**'''กิจการทัวร์''' ราคา 227 บาท
**'''ศิริรัตนพลทัวร์''' ราคา 227 บาท

* '''รถปรับอากาศชั้น 2'''
**'''บริษัทขนส่ง จำกัด''' ราคา 178 บาท
**'''ศิริรัตนพลทัวร์''' ราคา 186 บาท

====สายที่ผ่านบุรีรัมย์====
เป็นรถกรุงเทพ-อุบลราชธานี, กรุงเทพ-สุรินทร์ และกรุงเทพ-ศรีสะเกษ แวะจอดรับ-ส่งผู้โดยสารที่อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ มีทั้งรถปรับอากาศชั้น 1 และ 2

อัตราค่าโดยสารดังนี้
* '''รถปรับอากาศชั้น 1'''
**'''กิจการทัวร์''' ราคา 227 บาท
**'''ศิริรัตนพลทัวร์''' ราคา 227 บาท

* '''รถปรับอากาศชั้น 2'''
**'''ศิริรัตนพลทัวร์''' ราคา 178 บาท

====สายไปจังหวัดใกล้เคียง====
* '''บุรีรัมย์-นครราชสีมา''' ใช้เวลาเดินทาง 4 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 57 บาท
* '''บุรีรัมย์-สุรินทร์''' ใช้เวลาเดินทาง 1 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 21 บาท
* '''บุรีรัมย์-ขอนแก่น''' ใช้เวลาเดินทาง 5 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 93 บาท

====สายไปต่างอำเภอ และผ่านที่เที่ยว====
* '''บุรีรัมย์-นางรอง''' จุดหมายปลายทางที่[[อำเภอนางรอง]] (22 บาท) [[ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง]] (22 บาท) และ[[ปราสาทเมืองต่ำ]] (22 บาท)
* '''บุรีรัมย์-ประโคนชัย/บ้านกรวด''' จุดหมายปลายทางที่วัดป่าพระสบาย (35 บาท) [[อำเภอบ้านกรวด]] (22 บาท) อ่างเก็บน้ำสนามบิน (14 บาท) และอ่างเก็บน้ำห้วยตลาด (14 บาท)
* '''บุรีรัมย์-พุทไธสง''' จุดหมายปลายทางที่[[อำเภอพุทไธสง]] (28 บาท)
====สายรถโดยสารในตัวเมือง====
* '''สายตลาดเทศบาล-เขากระโดง (สาย 1)''' ขึ้นรถได้ที่[[สถานีรถไฟบุรีรัมย์]] โรงพยาบาลบุรีรัมย์ และสถานีขนส่ง
**'''เวลาบริการ''' 06.00 - 17.00 น.
**จุดหมายปลายทางที่ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ (6 บาท) วนอุทยานเขากระโดง (6 บาท)
* '''สายบ้านบัว (สาย 2)''' ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่ง
**'''เวลาบริการ''' 06.00 - 17.00 น.
**จุดหมายปลายทางที่อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก (5 บาท)

====ตารางเดินรถบริษัทขนส่ง จำกัด====
=====เที่ยวไป=====
{| class="wikitable"
|-
! หมวด-สาย !! เส้นทาง!! มาตราฐานรถ !! จำนวนที่นั่ง !! ราคา !! เวลาออกต้นทาง
|- bgcolor=#ffd700
| 2-32-1 || กรุงเทพ-บุรีรัมย์ || รถปรับอากาศ ม.1 || 40 ที่ || 292 บาท || 08.00, 21.00, 23.30
|- bgcolor=#ffd700
| 2-32-1 || กรุงเทพ-บุรีรัมย์ || รถปรับอากาศ ม.2 || 46 ที่ || 227 บาท || 07.30, 09.00, 10.30<br /> 12.45, 15.00, 19.30<br /> 20.30, 23.00
|}

=====เที่ยวกลับ=====
{| class="wikitable"
|-
! หมวด-สาย !! เส้นทาง!! มาตราฐานรถ !! จำนวนที่นั่ง !! ราคา !! เวลาออกต้นทาง
|- bgcolor=#dda0dd
| 2-32-1 || บุรีรัมย์-กรุงเทพ || รถปรับอากาศ ม.1 || 40 ที่ || 292 บาท || 08.00, 09.10, 21.30
|- bgcolor=#dda0dd
| 2-32-1 || บุรีรัมย์-กรุงเทพ || รถปรับอากาศ ม.2 || 46 ที่ || 227 บาท || 07.40, 08.40, 09.40<br /> 13.40, 15.40, 19.30<br /> 20.40, 22.00
|}

===[[รถไฟ]]===
====[[ขบวนรถด่วนพิเศษ]]====
มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี เป็นรถนั่งปรับอากาศชั้น 2 ทั้งขบวน อัตราค่าโดยสาร 335 บาท
====[[ขบวนรถด่วน]]====
มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี, กรุงเทพ-ศรีสะเกษ และกรุงเทพ-ศีขรภูมิ แบ่งได้ดังนี้
* '''สายกรุงเทพ-อุบลราชธานี'''
** '''รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 1''' ราคา 1,386 บาท
** '''รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 2''' ราคา 535 บาท
** '''รถนั่งและนอนชั้นที่ 2''' ราคา 355 บาท
** '''รถนั่งชั้นที่ 2''' ราคา 205 บาท
* '''สายกรุงเทพ-ศรีสะเกษ และกรุงเทพ-ศีขรภูมิ'''
** '''รถนั่งปรับอากาศชั้นที่ 2''' ราคา 265 บาท
** '''รถนั่งชั้นที่ 3''' ราคา 174 บาท

====[[ขบวนรถเร็ว]]====
มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 4 ขบวน ราคาดังนี้
* '''รถนั่งและนอนชั้นที่ 2''' ราคา 235 บาท
* '''รถนั่งชั้นที่ 2''' ราคา 85 บาท
* '''รถนั่งชั้นที่ 3''' ราคา 54 บาท

====[[ขบวนรถธรรมดา]]====
มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-สุรินทร์ เป็นรถไฟฟรี ไม่ต้องจ่ายเงิน

====[[ขบวนรถท้องถิ่น]]====
มีขบวนรถไฟสายนครราชสีมา-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 3 ขบวน เป็นรถไฟฟรี ไม่ต้องจ่ายเงิน

====ตารางเวลาการเดินรถ====
=====เที่ยวขึ้น=====
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บุรีรัมย์}}
{{ร139|02.22}}
{{ด67|03.40}}
{{ด73|04.12}}
{{ร141|06.02}}
{{ร143|07.27}}
{{ท421|08.16}}
{{ดพ21|11.34}}
{{ท419|12.58}}
{{ร135|14.19}}
{{ด71|16.14}}
{{ท427|16.30}}
{{ธ233|19.16}}
{{ร145|23.38}}
{{จบตารางเวลารถไฟ}}

=====เที่ยวล่อง=====
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บุรีรัมย์}}
{{ธ234|05.58}}
{{ท424|07.54}}
{{ด72|08.32}}
{{ท428|09.57}}
{{ร136|10.23}}
{{ร146|12.22}}
{{ท426|15.52}}
{{ดพ22|17.12}}
{{ร144|18.44}}
{{ร142|20.21}}
{{ด74|21.02}}
{{ด68|21.36}}
{{ร140|22.50}}
{{จบตารางเวลารถไฟ}}


{{เทศบาลเมือง}}
{{เทศบาลเมือง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:12, 4 กันยายน 2553

เทศบาลเมืองบุรีรัมย์
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันThetsaban Tambon Buri Ram Town Municipality
ประเทศ ไทย
จังหวัด[[จังหวัด{{{province}}}|{{{province}}}]]
อำเภอ{{{district}}}
พื้นที่
 • ทั้งหมด6 ตร.กม. (2 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2551)
 • ทั้งหมด28,222 คน
 • ความหนาแน่น4,704 คน/ตร.กม. (12,180 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.{{{code}}}
เว็บไซต์http://www.buriramcity.go.th/index.php เทศบาลเมืองบุรีรัมย์
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดบุรีรัมย์

ประวัติเทศบาล

เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ พุทธศักราช 2479 ซึ่งได้ตราขึ้นไว้ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2479 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ซึ่งมี พ.อ.พหลพลหยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนที่ 62 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2479

ต่อมาเมื่อท้องถิ่นเจริญขึ้น มีชุมชนอยู่หนาแน่นทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลที่ต่อเนื่องกันสมควรปรับปรุงเขตเทศบาลเสียใหม่ เพื่อขยายเขตให้เทศบาลได้ปกครองและทะนุบำรุงท้องถิ่น จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2504 ลงวันที่ 30 เมษายน 2504 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชการปัจจุบัน มีจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 40 วันที่ 9 พฤษภาคม 2504 มีเนื้อที่รวม 6.0 ตารางกิโลเมตร สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งหมดของอำเภอเมืองบุรีรัมย์ โดยมีอาณาเขตตามที่ระบุไว้ในพระราชกฤษฎีกา ดังนี้

อาณาเขต

ด้านเหนือ

ตั้งแต่หลักเขตที่ 1 ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่างจากทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ตรงหลัก กม.ที่ 375 ตามแนวเส้นตั้งฉาก 450 เมตร เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 2 ซึ่งตั้งอยู่ริมถนนพุทไธสงฟากตะวันออก ห่างจากทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา 650 เมตร

ด้านตะวันออก

จากหลักเขตที่ 2 เลียบตามถนนพุทไธสงฟางตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 3 ?ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ จากหลักเขตที่ 3 เลียบตามทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 4 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - สตึก 380 เมตร จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 5 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางเข้าวัดอิสาณฟากใต้ ห่างจากคลองละลม ฝั่งตะวันออก 40 เมตร จากหลักเขตที่ 5 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งตะวันออกไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ 6 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากคลองละลมฝั่งใต้ไปทางทิศใต้ 40 เมตร

ด้านใต้

จากหลักเขตที่ 6 เป็นเส้นขนานกับคลองละลมฝั่งใต้ไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 7 ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากคลองละลมฝั่งใต้ 40 เมตร จากหลักเขตที่ 7 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 8 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางหลวงแผ่นดินสายบุรีรัมย์ - ประโคนชัย ฟากตะวันออก ตรงหลัก กม.ที่ 640 จากหลักเขตที่ 8 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตก ถึงหลักเขตที่ 9 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดง ฟากตะวันตก ตรงริมลำห้วยจรเข้มาก ฝั่งเหนือ

ด้านตะวันตก

จากหลักเขตที่ 9 เลียบตามทางรถไฟสายบุรีรัมย์ - เขากระโดงฟากตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 10 ซึ่งตั้งอยู่ตรงหลัก กม.ที่ 1 จากหลักเขตที่ 10 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 11 ซึ่งตั้งอยู่ริมทางรถไฟสายอุบลราชธานี - นครราชสีมา ฟากเหนือ ตรงหลัก กม.ที่ 375 จากหลักเขตที่ 11 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนบรรจบหลักเขตที่ 1

สถานที่สำคัญ

โรงเรียนสำคัญประจำเทศบาล

วัดสำคัญ

การเดินทาง

รถโดยสารประจำทาง

สายกรุงเทพ-บุรีรัมย์

ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) (หมอชิต) มาลงที่สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์ มีบริการทั้งกิจการทัวร์, บริษัทขนส่ง จำกัด,ศิริรัตนพลทัวร์

อัตราค่าโดยสารดังนี้

  • รถปรับอากาศชั้น 1
    • กิจการทัวร์ ราคา 227 บาท
    • ศิริรัตนพลทัวร์ ราคา 227 บาท
  • รถปรับอากาศชั้น 2
    • บริษัทขนส่ง จำกัด ราคา 178 บาท
    • ศิริรัตนพลทัวร์ ราคา 186 บาท

สายที่ผ่านบุรีรัมย์

เป็นรถกรุงเทพ-อุบลราชธานี, กรุงเทพ-สุรินทร์ และกรุงเทพ-ศรีสะเกษ แวะจอดรับ-ส่งผู้โดยสารที่อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ มีทั้งรถปรับอากาศชั้น 1 และ 2

อัตราค่าโดยสารดังนี้

  • รถปรับอากาศชั้น 1
    • กิจการทัวร์ ราคา 227 บาท
    • ศิริรัตนพลทัวร์ ราคา 227 บาท
  • รถปรับอากาศชั้น 2
    • ศิริรัตนพลทัวร์ ราคา 178 บาท

สายไปจังหวัดใกล้เคียง

  • บุรีรัมย์-นครราชสีมา ใช้เวลาเดินทาง 4 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 57 บาท
  • บุรีรัมย์-สุรินทร์ ใช้เวลาเดินทาง 1 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 21 บาท
  • บุรีรัมย์-ขอนแก่น ใช้เวลาเดินทาง 5 ชั่วโมง ค่าโดยสาร 93 บาท

สายไปต่างอำเภอ และผ่านที่เที่ยว

สายรถโดยสารในตัวเมือง

  • สายตลาดเทศบาล-เขากระโดง (สาย 1) ขึ้นรถได้ที่สถานีรถไฟบุรีรัมย์ โรงพยาบาลบุรีรัมย์ และสถานีขนส่ง
    • เวลาบริการ 06.00 - 17.00 น.
    • จุดหมายปลายทางที่ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ (6 บาท) วนอุทยานเขากระโดง (6 บาท)
  • สายบ้านบัว (สาย 2) ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่ง
    • เวลาบริการ 06.00 - 17.00 น.
    • จุดหมายปลายทางที่อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก (5 บาท)

ตารางเดินรถบริษัทขนส่ง จำกัด

เที่ยวไป
หมวด-สาย เส้นทาง มาตราฐานรถ จำนวนที่นั่ง ราคา เวลาออกต้นทาง
2-32-1 กรุงเทพ-บุรีรัมย์ รถปรับอากาศ ม.1 40 ที่ 292 บาท 08.00, 21.00, 23.30
2-32-1 กรุงเทพ-บุรีรัมย์ รถปรับอากาศ ม.2 46 ที่ 227 บาท 07.30, 09.00, 10.30
12.45, 15.00, 19.30
20.30, 23.00
เที่ยวกลับ
หมวด-สาย เส้นทาง มาตราฐานรถ จำนวนที่นั่ง ราคา เวลาออกต้นทาง
2-32-1 บุรีรัมย์-กรุงเทพ รถปรับอากาศ ม.1 40 ที่ 292 บาท 08.00, 09.10, 21.30
2-32-1 บุรีรัมย์-กรุงเทพ รถปรับอากาศ ม.2 46 ที่ 227 บาท 07.40, 08.40, 09.40
13.40, 15.40, 19.30
20.40, 22.00

รถไฟ

ขบวนรถด่วนพิเศษ

มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี เป็นรถนั่งปรับอากาศชั้น 2 ทั้งขบวน อัตราค่าโดยสาร 335 บาท

ขบวนรถด่วน

มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี, กรุงเทพ-ศรีสะเกษ และกรุงเทพ-ศีขรภูมิ แบ่งได้ดังนี้

  • สายกรุงเทพ-อุบลราชธานี
    • รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 1 ราคา 1,386 บาท
    • รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 2 ราคา 535 บาท
    • รถนั่งและนอนชั้นที่ 2 ราคา 355 บาท
    • รถนั่งชั้นที่ 2 ราคา 205 บาท
  • สายกรุงเทพ-ศรีสะเกษ และกรุงเทพ-ศีขรภูมิ
    • รถนั่งปรับอากาศชั้นที่ 2 ราคา 265 บาท
    • รถนั่งชั้นที่ 3 ราคา 174 บาท

ขบวนรถเร็ว

มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 4 ขบวน ราคาดังนี้

  • รถนั่งและนอนชั้นที่ 2 ราคา 235 บาท
  • รถนั่งชั้นที่ 2 ราคา 85 บาท
  • รถนั่งชั้นที่ 3 ราคา 54 บาท

ขบวนรถธรรมดา

มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-สุรินทร์ เป็นรถไฟฟรี ไม่ต้องจ่ายเงิน

ขบวนรถท้องถิ่น

มีขบวนรถไฟสายนครราชสีมา-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 3 ขบวน เป็นรถไฟฟรี ไม่ต้องจ่ายเงิน

ตารางเวลาการเดินรถ

เที่ยวขึ้น

แม่แบบ:เริ่มตารางเวลารถไฟ แม่แบบ:ร139 แม่แบบ:ด67 แม่แบบ:ด73 แม่แบบ:ร141 แม่แบบ:ร143 แม่แบบ:ท421 แม่แบบ:ดพ21 แม่แบบ:ท419 แม่แบบ:ร135 แม่แบบ:ด71 แม่แบบ:ท427 แม่แบบ:ธ233 แม่แบบ:ร145 แม่แบบ:จบตารางเวลารถไฟ

เที่ยวล่อง

แม่แบบ:เริ่มตารางเวลารถไฟ แม่แบบ:ธ234 แม่แบบ:ท424 แม่แบบ:ด72 แม่แบบ:ท428 แม่แบบ:ร136 แม่แบบ:ร146 แม่แบบ:ท426 แม่แบบ:ดพ22 แม่แบบ:ร144 แม่แบบ:ร142 แม่แบบ:ด74 แม่แบบ:ด68 แม่แบบ:ร140 แม่แบบ:จบตารางเวลารถไฟ