ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติเคนยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| Design2 = ธงพื้นขาว มีรูปธงชาติที่มุมธงบนด้านคันธง ตอนปลายธงมีรูปสมอสีแดง
| Design2 = ธงพื้นขาว มีรูปธงชาติที่มุมธงบนด้านคันธง ตอนปลายธงมีรูปสมอสีแดง
}}
}}
'''[[ธงชาติ]][[เคนยา]]''' มีลักษณะเป็น[[ธงสามสี]] รูป[[สี่เหลี่ยมผืนผ้า]] กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นพื้น[[สีดำ]]-[[แดง]]-[[เขียว]] ตามแนวนอน โดยที่แถบสีแดงนั้น มีเส้นขอบ[[สีขาว]]ขนาบอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง ที่กลางธงนั้นมีรูป[[โล่]]แบบ[[ชนเผ่ามาซาย]] ซ้อนทับบน[[หอก]]ไขว้ 2 เล่ม
'''[[ธงชาติ]][[เคนยา]]''' มีลักษณะเป็นธงสามสี รูป[[สี่เหลี่ยมผืนผ้า]] กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นพื้น[[สีดำ]]-[[แดง]]-[[เขียว]] ตามแนวนอน โดยที่แถบสีแดงนั้น มีเส้นขอบ[[สีขาว]]ขนาบอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง ที่กลางธงนั้นมีรูป[[โล่]]แบบ[[ชนเผ่ามาซาย]] ซ้อนทับบน[[หอก]]ไขว้ 2 เล่ม


ความหมายต่างๆ ของสีและสัญลักษณ์ในธงดังนี้
ความหมายต่างๆ ของสีและสัญลักษณ์ในธงดังนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:12, 1 กันยายน 2553


ธงชาติเคนยา
การใช้ ธงชาติ, ธงเรือราษฎร์และธงเรือรัฐบาล
สัดส่วนธง 2:3
ประกาศใช้ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2506
ลักษณะ ธงสามแถบแนวนอน พื้นสีดำ-แดง-เขียว แต่ละแถบถูกแบ่งด้วยแถบสีขาวขนาดเล็ก กลางธงมีภาพโล่และหอกไขว้
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
การใช้ ธงนาวี
สัดส่วนธง 1:2
ประกาศใช้ พ.ศ. 2506
ลักษณะ ธงพื้นขาว มีรูปธงชาติที่มุมธงบนด้านคันธง ตอนปลายธงมีรูปสมอสีแดง

ธงชาติเคนยา มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นพื้นสีดำ-แดง-เขียว ตามแนวนอน โดยที่แถบสีแดงนั้น มีเส้นขอบสีขาวขนาบอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง ที่กลางธงนั้นมีรูปโล่แบบชนเผ่ามาซาย ซ้อนทับบนหอกไขว้ 2 เล่ม

ความหมายต่างๆ ของสีและสัญลักษณ์ในธงดังนี้

  • สีดำ หมายถึง ชนชาติส่วนใหญ่ของประเทศ คือ ชนผิวดำ
  • สีแดง หมายถึง เลือดที่หลั่งไหลเพื่อการต่อสู้เรียกร้องเอกราช
  • สีเขียว หมายถึงความมั่งคั่งของทรัพยากรธรรมชาติ
  • ขอบสีขาวริมแถบสีแดง หมายถึง สันติภาพ
  • โล่แบบชนเผ่ามาซายและหอกไขว้ 2 เล่ม หมายถึง การปกป้องทุกสิ่งทุกอย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น

โดยสีดำ-แดง-เขียวในธงชาติ มีที่มาจากสีธงของพรรค Kenya African National Union ส่วนเส้นขอบสีขาวริมแถบสีแดงนั้น เป็นส่วนที่มีการเพิ่มเติมเข้ามาในภายหลัง

ธงนี้มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2506

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น