ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำสร้างใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: af, ar, bg, br, bs, ca, cs, da, de, el, eo, es, et, eu, fa, fi, fr, gn, he, hi, hr, hu, id, io, is, it, ja, ko, la, lt, lv, nl, nn, no, pl, pt, ro, ru, scn, sco, sk, sv, tr, uk, wa, zh
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ms:Neologisme, ur:وضعی لفظ แก้ไข: ar:مولدة
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


[[af:Neologisme]]
[[af:Neologisme]]
[[ar:توليد]]
[[ar:مولدة]]
[[bg:Неологизъм]]
[[bg:Неологизъм]]
[[br:Nevezc'her]]
[[br:Nevezc'her]]
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
[[lt:Naujadaras]]
[[lt:Naujadaras]]
[[lv:Jaunvārds]]
[[lv:Jaunvārds]]
[[ms:Neologisme]]
[[nl:Neologisme]]
[[nl:Neologisme]]
[[nn:Neologisme]]
[[nn:Neologisme]]
บรรทัด 54: บรรทัด 55:
[[tr:İhtira]]
[[tr:İhtira]]
[[uk:Неологізм]]
[[uk:Неологізм]]
[[ur:وضعی لفظ]]
[[wa:Noûmot]]
[[wa:Noûmot]]
[[zh:新词]]
[[zh:新词]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:32, 1 กันยายน 2553

การบัญญัติศัพท์ คือการสร้างคำใหม่ ที่อาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป การบัญญัติศัพท์ ขึ้นมาอาจเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์

ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์[1] และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่างๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ

อ้างอิง