ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครโมสเฟียร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ro:Cromosferă
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:فام‌سپهر; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงดาราศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:ดวงอาทิตย์]]
[[หมวดหมู่:ดวงอาทิตย์]]
{{โครงดาราศาสตร์}}


[[ar:متكور ملون]]
[[ar:متكور ملون]]
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
[[es:Cromosfera]]
[[es:Cromosfera]]
[[eu:Kromosfera]]
[[eu:Kromosfera]]
[[fa:فام‌سپهر]]
[[fi:Kromosfääri]]
[[fi:Kromosfääri]]
[[fr:Chromosphère]]
[[fr:Chromosphère]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:41, 28 สิงหาคม 2553

ภาพจากการสังเกตดวงอาทิตย์ผ่านกล้องโทรทรรศน์ที่ใส่ฟิลเตอร์ H-alpha
ภาพถ่ายโดย Luc Viatour ระหว่างสุริยุปราคาเต็มดวง เมื่อ 11 สิงหาคม ค.ศ. 1999

โครโมสเฟียร์ (อังกฤษ: chromosphere; แปลตรงตัวว่า "ทรงกลมสี") คือชั้นบรรยากาศบางๆ รอบดวงอาทิตย์ที่อยู่สูงกว่าโฟโตสเฟียร์ มีขนาดความลึกประมาณ 2,000 กิโลเมตร โครโมสเฟียร์มีลักษณะโปร่งแสงยิ่งกว่าโฟโตสเฟียร์ สาเหตุที่เรียกชื่อเช่นนี้ก็เนื่องมาจากสีของมันซึ่งเป็นสีแดง อันเกิดจากสเปกตรัมที่เกิดขึ้นจากเส้นสเปกตรัม H-alpha ของไฮโดรเจน เราสามารถมองเห็นลักษณะของทรงกลมสีนี้โดยตรงได้ด้วยตาเปล่าในระหว่างการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง โดยจะมองเห็นโครโมสเฟียร์เป็นเหมือนแสงสีสว่างวาบที่ขอบของโฟโตสเฟียร์ที่หายลับไปอยู่หลังดวงจันทร์

ด้วยเหตุผลบางอย่างซึ่งยังไม่เป็นที่เข้าใจ อุณหภูมิของโครโมสเฟียร์กลับสูงกว่าโฟโตสเฟียร์ แม้โฟโตสเฟียร์จะอยู่ใกล้พื้นผิวดวงอาทิตย์มากกว่า มีอุณหภูมิอยู่ประมาณ 4,000-6,400 เคลวิน แต่โครโมสเฟียร์กลับมีอุณหภูมิสูงถึง 4,500 ไปจนถึงกว่า 20,000 เคลวิน[1][2] ทฤษฎีหนึ่งเสนอเกี่ยวกับความผันผวนของ sonic ในบริเวณนี้ที่เกิดจาก magnetohydrodynamic waves อาจเป็นเหตุให้อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

อ้างอิง