ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภิกษุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


== การบวชเป็นภิกษุเถรวาท ==
== การบวชเป็นภิกษุเถรวาท ==
{{โครงส่วน}}
=== ประเภทของการบวชเป็นภิกษุ ===
=== ประเภทของการบวชเป็นภิกษุ ===
==== เอหิภิกขุอุปสัมปทา====
==== เอหิภิกขุอุปสัมปทา====
เป็นชื่อเรียกวิธี[[อุปสมบท]]เป็น[[ภิกษุ]]ในสมัย[[พุทธกาล]]ยุคต้นๆ โดย[[พระพุทธเจ้า]]ประทานให้ด้วยพระองค์เอง ด้วยการตรัสว่า "'''เอหิภิกขุ'''...." ซึ่งแปลว่า "''จงมาเป็นภิกษุเถิด [[ธรรม]]อันเรากล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติ[[พรหมจรรย์]]เพื่อทำที่ดีที่สุดแห่ง[[ทุกข์]]โดยชอบเถิด''"
{{โครงส่วน}}

ตรัสเท่านี้ ก็เป็นภิกษุแล้ว เพราะคำตรัสขึ้นต้นว่า '''เอหิ''' '''ภิกขุ''' จึงเรียกการ[[อุปสมบท]]แบบนี้ว่า '''เอหิภิกขุอุปสัมปทา''' เรียกผู้ได้รับการอุปสมบทว่า '''เอหิภิกขุ'''

การอุปสมบทแบบนี้ทรงประทานแก่[[พระอัญญาโกณฑัญญะ]]เป็นท่านแรก จึงถือว่าท่านเป็นปฐมสาวกหรือเป็นปฐมภิกษุในพระพุทธศาสนา ต่อมาเมื่อมีผู้มาขอบวชมากขึ้นได้ทรงเลิกวิธีอุปสมบทแบบนี้ ทรงเปลี่ยนเป็นวิธี[[ติสรณคมนูปสัมปทา]] และเป็นวิธี[[ญัตติ]]จตุตถกรรมวาจาซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน

==== ติสรณคมณูปสัมปทา ====
==== ติสรณคมณูปสัมปทา ====
[[ไฟล์:Novitiate ordination.jpg‎|thumbnail|left|150px|พระอุปัชฌาย์ให้ '''ติสรณคมนูปสัมปทา''' แก่ผู้บวชเป็นสามเณร]]
{{โครงส่วน}}

แปลว่า ''การอุปสมบทด้วยการเข้าถึงไตรสรณะ'' หมายถึงการบวชเป็น[[ภิกษุ]]โดยการรับ[[ไตรสรณคมน์]] หมายถึงการ[[อุปสมบท]]เป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระ[[พุทธศาสนา]] กล่าวคือในสมัยต้น[[พุทธกาล]] [[พระพุทธเจ้า]]ทรงประทานอุปสมบทเองที่เรียกว่า[[เอหิภิกขุอุปสัมปทา]] ต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับ[[ไตรสรณคมน์]]เท่านั้น ซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคล คือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ ต่อมาภายหลังทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดย[[สงฆ์]]คือให้ทำเป็น[[สังฆกรรม]]ที่เรียกว่าแบบ[[ญัตติจตุตถกรรมวาจา]] จึงเลิกวิธีบวชพระแบบ'''ติสรณคมนูปสัมปทา''' แต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้[[บวช]][[สามเณร]] ซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้

==== ญัตติจตุตถกรรมวาจา====
==== ญัตติจตุตถกรรมวาจา====
เป็น[[สังฆกรรม]] 1 ใน 4 อย่างของภิกษุสงฆ์ที่ทำร่วมกัน จัดเป็นสังฆกรรมที่มีน้ำหนักมาที่สุด หนักแน่นที่สุด ใช้ทำกรรมที่สำคัญมาก เช่น การให้[[อุปสมบท]] การให้[[ปริวาส]] ให้[[อัพภาน]] การสวด[[สมนุภาสน์]] เป็นต้น
{{โครงส่วน}}

'''วิธีการ''' คือ จะมีการสวดญัตติขึ้นก่อน 1 ครั้ง และ สวดอนุสาวนา 3 ครั้ง เมื่อรวมกันจึงเรียกว่า ญัตติจตุตถกรรม แปลว่า กรรมมีญัตติเป็นที่ 4, หมายความว่า กิจกรรมของสงฆ์ที่ทำร่วมกันโดยต้องทำการสวดญัตติขึ้นก่อน แล้วตามด้วย[[อนุสาวนา]]อีก 3 ครั้ง

ส่วนสาเหตุที่เรียกว่า '''ญัตติจตุตถกรรม''' (กรรมมีญัตติเป็นที่ 4) ไม่เรียกว่า ''ญัตตฺยาทิกรรม'' (กรรมมีญัตติเป็นเบื้องต้น) เป็นต้น มีเพราะทรงตรัสเป็น[[โวหาร]]แบบ[[ปฏิโลม]] (นับย้อนศร) เหมือนคำว่า ผสฺสปญฺจมํ (ธรรมมีผัสสะเป็นที่ 5) ในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรมนั่นเอง


== การบวชเป็นภิกษุเถรวาทในประเทศไทย ==
== การบวชเป็นภิกษุเถรวาทในประเทศไทย ==
{{โครงส่วน}}
ผู้ที่จะเป็นภิกษุได้จะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการพิธี[[อุปสมบท]]โดยถูกต้องตาม[[พระธรรมวินัย]]ก่อน เช่น ต้องมีอายุ ๒๐ ปี ไม่มีโรคร้ายแรง ต้องมี[[อุปัชฌาย์]]รับรอง ต้องทำพิธีใน[[อุโบสถ]]
ผู้ที่จะเป็นภิกษุได้จะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการพิธี[[อุปสมบท]]โดยถูกต้องตาม[[พระธรรมวินัย]]ก่อน เช่น ต้องมีอายุ ๒๐ ปี ไม่มีโรคร้ายแรง ต้องมี[[อุปัชฌาย์]]รับรอง ต้องทำพิธีใน[[อุโบสถ]]


บรรทัด 25: บรรทัด 35:
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548


{{พุทธบริษัท}}{{โครงพระพุทธศาสนา}}
{{พุทธบริษัท}}
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]

[[หมวดหมู่:พระภิกษุสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:พระภิกษุสงฆ์]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:28, 22 สิงหาคม 2553

ภิกษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา เพราะมีความหมายตรงตัวว่าผู้เห็นภัยในสังสารวัฏ อันเป็นคำสอนที่มีลักษณะจำเพาะแตกต่างจากศาสนาอื่น

คำว่า ภิกษุ แปลตามรูปศัพท์ได้หลายนัย เช่น ผู้ขอโดยสงบ ผู้เห็นภัยในสังสารวัฏ ผู้ใช้สอยผ้าที่ถูกทำลายแล้ว เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ"ที่แปลว่าผู้ประเสริฐ เป็นคำที่เรียกกันมาแต่โบราณเพื่อเป็นการยกย่องนักบวชในพระพุทธศาสนา

ความเป็นมาของภิกษุ

การบวชเป็นภิกษุเถรวาท

ประเภทของการบวชเป็นภิกษุ

เอหิภิกขุอุปสัมปทา

เป็นชื่อเรียกวิธีอุปสมบทเป็นภิกษุในสมัยพุทธกาลยุคต้นๆ โดยพระพุทธเจ้าประทานให้ด้วยพระองค์เอง ด้วยการตรัสว่า "เอหิภิกขุ...." ซึ่งแปลว่า "จงมาเป็นภิกษุเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่ดีที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด"

ตรัสเท่านี้ ก็เป็นภิกษุแล้ว เพราะคำตรัสขึ้นต้นว่า เอหิ ภิกขุ จึงเรียกการอุปสมบทแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา เรียกผู้ได้รับการอุปสมบทว่า เอหิภิกขุ

การอุปสมบทแบบนี้ทรงประทานแก่พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นท่านแรก จึงถือว่าท่านเป็นปฐมสาวกหรือเป็นปฐมภิกษุในพระพุทธศาสนา ต่อมาเมื่อมีผู้มาขอบวชมากขึ้นได้ทรงเลิกวิธีอุปสมบทแบบนี้ ทรงเปลี่ยนเป็นวิธีติสรณคมนูปสัมปทา และเป็นวิธีญัตติจตุตถกรรมวาจาซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน

ติสรณคมณูปสัมปทา

พระอุปัชฌาย์ให้ ติสรณคมนูปสัมปทา แก่ผู้บวชเป็นสามเณร

แปลว่า การอุปสมบทด้วยการเข้าถึงไตรสรณะ หมายถึงการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์ หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนา กล่าวคือในสมัยต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้าทรงประทานอุปสมบทเองที่เรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทา ต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้น ซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคล คือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ ต่อมาภายหลังทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์คือให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจา จึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทา แต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณร ซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้

ญัตติจตุตถกรรมวาจา

เป็นสังฆกรรม 1 ใน 4 อย่างของภิกษุสงฆ์ที่ทำร่วมกัน จัดเป็นสังฆกรรมที่มีน้ำหนักมาที่สุด หนักแน่นที่สุด ใช้ทำกรรมที่สำคัญมาก เช่น การให้อุปสมบท การให้ปริวาส ให้อัพภาน การสวดสมนุภาสน์ เป็นต้น

วิธีการ คือ จะมีการสวดญัตติขึ้นก่อน 1 ครั้ง และ สวดอนุสาวนา 3 ครั้ง เมื่อรวมกันจึงเรียกว่า ญัตติจตุตถกรรม แปลว่า กรรมมีญัตติเป็นที่ 4, หมายความว่า กิจกรรมของสงฆ์ที่ทำร่วมกันโดยต้องทำการสวดญัตติขึ้นก่อน แล้วตามด้วยอนุสาวนาอีก 3 ครั้ง

ส่วนสาเหตุที่เรียกว่า ญัตติจตุตถกรรม (กรรมมีญัตติเป็นที่ 4) ไม่เรียกว่า ญัตตฺยาทิกรรม (กรรมมีญัตติเป็นเบื้องต้น) เป็นต้น มีเพราะทรงตรัสเป็นโวหารแบบปฏิโลม (นับย้อนศร) เหมือนคำว่า ผสฺสปญฺจมํ (ธรรมมีผัสสะเป็นที่ 5) ในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรมนั่นเอง

การบวชเป็นภิกษุเถรวาทในประเทศไทย

ผู้ที่จะเป็นภิกษุได้จะต้องมีคุณสมบัติและผ่านการพิธีอุปสมบทโดยถูกต้องตามพระธรรมวินัยก่อน เช่น ต้องมีอายุ ๒๐ ปี ไม่มีโรคร้ายแรง ต้องมีอุปัชฌาย์รับรอง ต้องทำพิธีในอุโบสถ

อ้างอิง