ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ย่านการค้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jinalyst (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jinalyst (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
ศรีนครินทร์
ศรีนครินทร์
จตุจักร
จตุจักร

กลางวันและกลางคืน
สุขุมวิท


ย่านกลางคืน
ย่านกลางคืน
บรรทัด 59: บรรทัด 62:




แหล่งอ้างอิง
แหล่งอ้างอิง<ref></ref>
เอกสารประกอบการสอน ม.ศรีปทุม ค้นคว้า รวบรวมโดย ดร.จินต์จุฑา อิสริยภัทร์
เอกสารประกอบการสอน ม.ศรีปทุม วิจัย ค้นคว้า รวบรวมโดย ดร.จินต์จุฑา อิสริยภัทร์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:40, 16 สิงหาคม 2553

ย่านการค้า คือศูนย์รวมหรือแปล่งรวมสินค้าและบริการ สามารถเป็นย่านการค้าปลีก และย่านการค้าส่ง หรือผสมทั้งสองอย่าง แบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

1.ย่านธุรกิจ มักอยู่ใจกลางเมือง จังหวัดใดๆ เรียกเป็นย่านธุรกิจของจังหวัด มักเป็นศูนย์กลางของจังหวัดหรือที่นิยมเรียกกันว่า "กลางเมือง" ถ้าในกรุงเทพย่านธุรกิจจะมีหลายแห่ง เช่น ย่านสีลม ย่านราชประสงค์

2.ย่านช็อปปิ้งและสันทนาการ แบ่งออกได้เป็นย่านกลางวัน และย่านกลางคืน วัตถุประสงค์ของการไปย่านแบบนี้คือการไปเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ

ตัวอย่าง ย่านกลางวัน ตลาดน้ำ สยามมาบุญครอง ศรีนครินทร์ จตุจักร

กลางวันและกลางคืน สุขุมวิท

ย่านกลางคืน ย่านรัชดา ย่านพัฒน์พงศ์

3.ย่านดำรงชีวิต คือตลาดบก หรือตลาดสด ที่คนจะเดินทางไปจับจ่ายใช้สอยของสด ของชำในชีวิตประจำวัน คือสถานที่ที่ไปซื้อกับข้าว เนื้อสัตว์มาปรุง ประกอบอาหารเพื่อรับประทานในครอบครัว หรือถ้าเป็นร้านอาหารก็จะไปซื้อของสดจากย่านนี้ มาเพื่อประกอบอาหารขาย ทั้งนี้รวมถึงย่านที่ขายอาหารสำเร็จรูปทั่วไปและสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวอย่าง Community mall ของหมู่บ้าน ตลาดสด ตลาดสาธารณะเทศบาลเมือง ตลาดโต้รุ่ง ตลาดนัด

4.ย่านท้องถิ่น เป็นย่านที่ขายสินค้าสำหรับคนท้องถิ่นเท่านั้น เป็นย่านที่จะทราบกันแต่ในจังหวัดหรือหมู่บ้าน หรือชุมชน แต่สินค้าในย่านชุมชนต่างๆ ที่พัฒนาให้มีชื่อเสียง มีคุณภาพที่ดีสามารถนำไปวางขายนอกชุมชนได้ ตลาดน้ำคลองลัดมะยม ตลาดกลางผลิตผลทางการเกษตร

5.ย่านท่องเที่ยว เป็นแหล่งที่มีคนมาท่องเที่ยว โดยมาจากต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ รวมถึงสถานที่ต่อรถ แหล่งหรือย่านแบบนี้ ร้านค้าปลีกสามารถ รวบรวม คัดเลือก สินค้าที่แตกต่างกันเพื่อมาตอบสนองนักท่องเที่ยวได้ ย่านประเภทนี้มักมีการสร้างความร่วมมือกันในแบบที่ทั้งมองเห็นได้ และไม่สามารถมองเห็นได้

ตัวอย่าง สถานีรถไฟหัวลำโพง สุวรรณภูมิ ตลาดน้ำ 4 ภาค ถนนข้าวสาร

6.ย่านพิเศษ คือย่านที่มีของหายาก ไม่สามารถหาซื้อได้จากแหล่งอื่น หรือสามารถหาซื้อได้แต่ไม่มีให้เลือกมากเท่าย่านนี้ ย่านแบบนี้มักจะแข่งขันกันสูง เพราะมีสินค้าเหมือนกัน สั่งมาจากซัพพลายเออร์เดียวกัน ร้านต้องมีเอกลักษณ์ที่ชัดเจน สามารถสร้างความแตกต่างในองค์ประกอบการตลาดอื่นๆได้ ตัวอย่างของย่านประกอบด้วย ย่านทองเยาวราช ย่านขายแว่นถนนเพชรบุรี ย่านขายยาศิริราช ย่านคอมพิวเตอร์ห้างพันธ์ทิพย์ประตูน้ำ ย่านพระเครื่องห้างพันธ์ทิพย์งามวงศ์วาน





แหล่งอ้างอิงอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง อ้างอิงที่ไม่มีชื่อต้องมีเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน ม.ศรีปทุม วิจัย ค้นคว้า รวบรวมโดย ดร.จินต์จุฑา อิสริยภัทร์