ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามองโกเลีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
|speakers=5.7 ล้าน
|speakers=5.7 ล้าน
|familycolor=Altaic
|familycolor=Altaic
|fam1=[[ตระกูลภาษาอัลไตอิก|อัลตาอิก]] (''เป็นที่โต้แย้ง'')
|fam1=[[ตระกูลภาษาอัลไตอิก|อัลไตอิก]] (''เป็นที่โต้แย้ง'')
|fam2=[[กลุ่มภาษามองโกลิก|มองโกลิก]]
|fam2=[[กลุ่มภาษามองโกลิก|มองโกลิก]]
|fam3=[[กลุ่มภาษามองโกลิกตะวันออก|ตะวันออก]]
|fam3=[[กลุ่มภาษามองโกลิกตะวันออก|ตะวันออก]]
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
'''ภาษามองโกเลีย''' เป็น[[ภาษาทางการ]]ของ[[ประเทศมองโกเลีย]] และเป็น[[ภาษา]]หลักของชาว[[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]]ส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบ[[คัลข่า]] (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]และ[[ประเทศรัสเซีย|สหพันธรัฐรัสเซีย]]
'''ภาษามองโกเลีย''' เป็น[[ภาษาทางการ]]ของ[[ประเทศมองโกเลีย]] และเป็น[[ภาษา]]หลักของชาว[[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]]ส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบ[[คัลข่า]] (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]และ[[ประเทศรัสเซีย|สหพันธรัฐรัสเซีย]]


จัดอยู่ใน'''ภาษากลุ่มมองโกลิก'''ซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่พูดใน[[เอเชียกลาง]] นักภาษาศาสตร์บางคนได้เสนอให้จัดภาษากลุ่มมองโกลิกร่วมกับ[[ภาษากลุ่มเตอร์กิก]] (ซึ่งมี[[ภาษาตุรกี]]) และ[[ภาษากลุ่มทุงกูซิก]]ให้เป็น[[ภาษากลุ่มอัลตาอิก]] แต่ไม่เป็นที่ยอมรับโดยสากล
จัดอยู่ใน'''ภาษากลุ่มมองโกลิก'''ซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่พูดใน[[เอเชียกลาง]] นักภาษาศาสตร์บางคนได้เสนอให้จัดภาษากลุ่มมองโกลิกร่วมกับ[[ภาษากลุ่มเตอร์กิก]] (ซึ่งมี[[ภาษาตุรกี]]) และ[[ภาษากลุ่มทุงกูซิก]]ให้เป็น[[ภาษากลุ่มอัลไตอิก]] แต่ไม่เป็นที่ยอมรับโดยสากล


สมาชิกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดของภาษากลุ่มนี้คือ ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน
สมาชิกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดของภาษากลุ่มนี้คือ ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:48, 15 สิงหาคม 2553

Mongolian
[[File:1. (Mongghol), เขียนใน อักษรมองโกเลีย
2.Монгол (Mongol), เขียนในอักษรซีริลลิก|200px]]
ประเทศที่มีการพูดจีน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย และรัสเซีย
ภูมิภาคมองโกเลีย สาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย) อิสซีก-คูล (คีร์กีซสถาน) มณฑลเหลียวหนิง มณฑลจี๋หลิน และมณฑลเฮย์หลงเจียง (จีน)
จำนวนผู้พูด5.7 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการมองโกเลีย เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (จีน) และสาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย)
รหัสภาษา
ISO 639-1mn
ISO 639-2mon
ISO 639-3มีหลากหลาย:
mon – Mongolian (generic)
khk – Halh Mongolian
mvf – Peripheral Mongolian

ภาษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคัลข่า (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย

จัดอยู่ในภาษากลุ่มมองโกลิกซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่พูดในเอเชียกลาง นักภาษาศาสตร์บางคนได้เสนอให้จัดภาษากลุ่มมองโกลิกร่วมกับภาษากลุ่มเตอร์กิก (ซึ่งมีภาษาตุรกี) และภาษากลุ่มทุงกูซิกให้เป็นภาษากลุ่มอัลไตอิก แต่ไม่เป็นที่ยอมรับโดยสากล

สมาชิกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดของภาษากลุ่มนี้คือ ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน