ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮิรางานะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: da, ka, nn, no, su, ta, ug, uk
บรรทัด 119: บรรทัด 119:
[[ca:Hiragana]]
[[ca:Hiragana]]
[[cs:Hiragana]]
[[cs:Hiragana]]
[[da:Hiragana]]
[[de:Hiragana]]
[[de:Hiragana]]
[[en:Hiragana]]
[[en:Hiragana]]
บรรทัด 131: บรรทัด 132:
[[it:Hiragana]]
[[it:Hiragana]]
[[ja:平仮名]]
[[ja:平仮名]]
[[ka:ჰირაგანა]]
[[ko:히라가나]]
[[ko:히라가나]]
[[ms:Hiragana]]
[[ms:Hiragana]]
[[nl:Hiragana]]
[[nl:Hiragana]]
[[nn:Hiragana]]
[[no:Hiragana]]
[[pl:Hiragana]]
[[pl:Hiragana]]
[[pt:Hiragana]]
[[pt:Hiragana]]
บรรทัด 141: บรรทัด 145:
[[sl:Hiragana]]
[[sl:Hiragana]]
[[sr:Хирагана]]
[[sr:Хирагана]]
[[su:Hiragana]]
[[sv:Hiragana]]
[[sv:Hiragana]]
[[ta:இறகனா எழுத்து]]
[[tr:Hiragana]]
[[tr:Hiragana]]
[[ug:ھىراگانا]]
[[uk:Хіраґана]]
[[zh:平假名]]
[[zh:平假名]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:25, 27 ตุลาคม 2549

ฮิระงะนะ (平仮名) คือ อักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของอักษรญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบันควบคู่กับ คะตะคะนะ และ คันจิ ซึ่ง ฮิระงะนะ และ คะตะคะนะ ทั้งคู่เป็นระบบคะนะที่ตัวอักษรหนึ่งตัวแสดงถึงหนึ่งเสียง ในแต่ละ"คะนะ"สามารถเป็นได้ทั้งในรูปสระและวรรณยุกต์หรือตัวสะกด

ฮิระงะนะใช้สามารถใช้สำหรับคำที่ไม่มีในตัวอักษรคันจิ หรือใช้ในส่วนท้ายของคำกริยาหรือใช้เป็นคำช่วย และฮิระงะนะใช้สำหรับเป็นคำอ่านสำหรับตัวอักษรคันจิ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้ ซึ่งเรียกว่าฟุริงะนะ ในปัจจุบันมีระบบฮิระงะนะ 2 แบบคือ อิโระฮะ ฮิระงะนะแบบเก่า และแบบ โกะจูโอ็ง แบบใหม่

ตารางตัวอักษรฮิระงะนะ

วรรคอะ あ(อะ) い(อิ) う(อุ) え(เอะ) お (โอะ)
วรรคคะ か(คะ) き(คิ) く(คุ) け(เคะ) こ(โคะ)
วรรคซะ さ(ซะ) し(ชิ)* す(ซุ) せ(เซะ) そ(โซะ)
วรรคทะ た(ทะ) ち(จิ,ชิ)* つ(สึ,ซึ) て(เทะ) と(โทะ)
วรรคนะ な(นะ) に(นิ) ぬ(นุ) ね(เนะ) の(โนะ)
วรรคฮะ は(ฮะ) ひ(ฮิ) ふ(ฟุ,ฮุ) へ(เฮะ) ほ(โฮะ)
วรรคมะ ま(มะ) み(มิ) む(มุ) め(เมะ) も(โมะ)
วรรคยะ や(ยะ) ゆ(ยุ) よ(โยะ)
วรรคระ ら(ระ) り(ริ) る(รุ) れ(เระ) ろ(โระ)
วรรควะ わ(วะ) ゐ(วิ)** ゑ(เวะ)** を(โอะ,โวะ)
ん(อึน)

* し ออกเสียงคล้าย /sh/ และ ち ออกเสียงคล้าย /ch/ ในภาษาอังกฤษ

** ゐ และ ゑ ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว

อักษรชนิดควบกล้ำของคะตะคะนะตัวอักษรธรรมดา

วรรคคิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) きゃ(คิ ยะ) きゅ(คิ ยุ) きょ(คิ โยะ)
วรรคชิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) しゃ(ชิ ยะ) しゅ(ชิ ยุ) しょ(ชิ โยะ)
วรรคจิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) ちゃ(จิ ยะ) ちゅ(จิ ยุ) ちょ(จิ โยะ)
วรรคนิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) にゃ(นิ ยะ) にゅ(นิ ยุ) にょ(นิ โยะ)
วรรคฮิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) ひゃ(ฮิ ยะ) ひゅ(ฮิ ยุ) ひょ(ฮิ โยะ)
วรรคมิควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) みゃ(มิ ยะ) みゅ(มิ ยุ) みょ(มิ โยะ)
วรรคริควบคล้ำ(ออกเสียงเร็วๆ) リゃ(ริ ยะ) リゅ(ริ ยุ) リょ(ริ โยะ)

ตัวอักษรเสียงผสม

วรรคกงะ(ออกเสียงเป็น ก ผสม ง) が(กงะ) ぎ(กงิ) ぐ(กงุ) げ(เกงะ) ご(โกงะ)
วรรคซะ(ออกเสียงเป็น ซ แบบ คอสั่น) ざ(ซะ) じ(ซิ) ず(ซุ) ぜ(เซะ) ぞ(โซะ)
วรรคดะ(ออกเสียงเป็น ด เหมือนคนไทย) だ(ดะ) ぢ(จดิ) づ(สซุ) で(เดะ) ど(โดะ)
วรรคบะ (ออกเสียงเป็น บ เหมือนคนไทย) ば(บะ) び(บิ) ぶ(บุ) べ(เบะ) ぼ(โบะ)
วรรคปะ(ออกเสียงเป็น ป เหมือนคนไทย) ぱ(ปะ) ぴ(ปิ) ぷ(ปุ) ぺ(เปะ) ぽ(โปะ)

ตัวอักษรควบกล้ำเสียงผสม

วรรคกงิควบกล้ำ(ออกเสียงเร็ว) ぎゃ(กิ ยะ) ぎゅ(กิ ยุ) ぎょ(กิ โยะ)
วรรคจิควบกล้ำ(ออกเสียงเร็ว) じゃ(จิ ยะ) じゅ(จิ ยุ) じょ(จิ โยะ)
วรรคจิควบกล้ำ(ออกเสียงเร็ว) ぢゃ(จิ ยะ) ぢゅ(จิ ยุ) ぢょ(จิ โยะ)
วรรคบิควบกล้ำ (ออกเสียงเร็ว) びゃ(บิ ยะ) びゅ(บิ ยุ) びょ(บิ โยะ)
วรรคปิควบกล้ำ(ออกเสียงเร็ว) ぴゃ(ปิ ยะ) ぴゅ(ปิ ยุ) ぴょ(ปิ โยะ)

ตัวอักษรที่ใช้สำหรับภาษาต่างประเทศ

............ ............ ............ いぇ(อิ เยะ ye) ............
............ うぃ(อุ อิ wi) ............ うぇ(อุ เอะ we) うぉ(อุ โอะ wo)
わ゙ (va) ゐ゙(vi) ゔ(vu) ゑ゙(ve) を゙(vo)
ゔぁ(va) ゔぃ(vi) ゔぅ(vu) ゔぇ(ve) ゔォ(vo)
............ ............ ............ しぇ(ชิ เยะ she) ............
............ ............ ............ じぇ(จิ เยะ je) ............
............ ............ ............ ちぇ(จิ เอะ che) ............
............ てぃ(ทิ ti) とぅ (ทุ tu) ............ ............
............ でぃ(ดิ di) どぅ (ดุ du) ............ ............
つぁ(สุ อะ tsa) つぃ(สุ อิ tsi) ............. つぇ(สุ เอะ tse) つぉ(สุ โอะ tso)
ふぁ(ฮุ อะ fa) ふぃ(ฮุ อิ fi) ............. ふぇ(ฮุ เอะ fe) ふぉ(ฮุ โอะ fo)