ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำสร้างใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการตรวจลิขสิทธิ์ด้วยสจห.
ปรับปรุง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
การบัญญัติศัพท์


'''การบัญญัติศัพท์''' คือการสร้างคำใหม่ ที่อาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป การบัญญัติศัพท์ ขึ้นมาอาจเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์
การบัญญัติศัพท์ คือ การคิดค้นคำที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของภาษาไทยเพื่อให้คนไทยเข้าใจในความหมายตรงกันและเพื่อใช้ติดต่อสื่อสารกับประเทศต่างๆได้


ในประเทศไทย[[ราชบัณฑิตยสถาน]]มีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่างๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ [[กระทรวงศึกษาธิการ]] และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ
อย่างราบรื่น การบัญญัติศัพท์ถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาของคนไทยในการป้องกันมิให้ภาษาต่างประเทศทั้งหลายเข้ามาปะปนกับภาษาไทยมากจนทำให้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย


เสียไป โดยเหตุที่ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับต่างประเทศในด้านต่าง เช่น ทางด้านการค้าขาย ทางการทูต ฯลฯ มาตั้งแต่โบราณจึงทำให้มีคำศัพท์ในภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปน


[[หมวดหมู่:ภาษา]]
กับคำไทยเป็นจำนวนมาก เมื่อวิทยาการต่างๆ เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว คำศัพท์จากต่างประเทศที่จำเป็นต้องใช้ก็มีเพิ่มจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัว การที่เราจะนำคำในภาษา


[[en:Neologism]]
ต่างประเทศมาทับศัพท์ใช้ก็ยังสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน ทั้งที่คำทับศัพท์เหล่านี้นั้นก็ดูไม่เป็นภาษาไทยนัก ดังนั้นการบัญญัติศัพท์จึงเกิดด้วยสาเหตุนี้
เหตุแห่งการบัญญัติศัพท์

การบัญญัติศัพท์มีสาเหตุอันเนื่องมาจากปัจจัย ๓ ประการ
๑.ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการเทคโนโลยีในสาขาต่างๆ เช่น ทางด้านการแพทย์ ทางด้านการศึกษา ทางด้านสังคมศาสตร์และทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น การรับ

ความเจริญก้าวหน้าดังกล่าวนี้เข้ามาย่อมมีคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเข้ามาด้วย จึงต้องคิดศัพท์บัญญัติขึ้นมาใช้แทน เช่น
Statistics สถิติศาสตร์
Chemical Equivalent สมมูลเคมี
Coeducation สหศึกษา เป็นต้น
๒.การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งของวัตถุที่ยังใหม่ และไม่มีชื่อเรียกในภาษาไทย เช่น
Telephone โทรศัพท์มือถือ
Socket เต้ารับ เป็นต้น
๓.การเผยแพร่วัฒนธรรม และ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่าง ประเทศไทยกับต่างประเทศ ทำให้ได้รับคำศัพท์จากวัฒนธรรมหลากหลายสาขา เช่น ดนตรี ศิลปะ กีฬา ฯลฯ เช่น
Pizza พิซซ่า
Football ฟุตบอล เป็นต้น


ราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่างๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะ

อนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานเฉพาะขององค์กรบางที่ที่รับวิทยาการและเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามา

และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และ

คณะกรรมการจัดทำศัพท์สรีรวิทยาของสรีรวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย เป็นต้น ด้วยเหตุนี้จึงมีเกณฑ์การบัญญัติแตกต่างกัน ในที่นี้จะยึดของราชบัณฑิตยสถานและคณะของคณะ

กรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ
ราชบัณฑิตยสถานมีหลักในการบัญญัติศัพท์ ๓ ประการ ดังนี้

๑. คิดค้นขึ้นใหม่โดยหาคำภาษาไทยมาประกอบกันเป็นคำศัพท์เป็นลำดับแรก ซึ่งจะต้องเป็นคำศัพท์ที่สั้น กะทัดรัด และไม่มีลักษณะเป็นคำนิยาม

๒. หากหาคำภาษาไทยที่เหมาะสมหรือมีความหมายตรงตามคำศัพท์เดิมไม่ได้ จึงนำคำภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้วในภาษาไทยมาประกอบ

เป็นคำศัพท์ขึ้น วิธีนี้จะทำเมื่อจำเป็นหรือหลีกเลี่ยงไม่ได้เท่านั้น

๓. หากไม่สามารถหาคำภาษาไทย คำภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตที่สื่อความหมายได้ใกล้เคียงหรือถูกต้องได้ และคำศัพท์เดิมนั้น เป็นคำที่ใช้ทับศัพท์จนเป็นที่นิยมคุ้น

เคยในภาษาไทยแล้วก็ให้ใช้วิธีทับศัพท์ คำศัพท์เดิมนี้มักเป็นคำศัพท์ภาษาอังกฤษ

คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการการศึกษามีหลักในการบัญญัติศัพท์ดังนี้

๑. พิจารณาความหมายของคำศัพท์เดิม แล้วบัญญัติศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกับความหมายเดิม ซึ่งมีวิธีการบัญญัติศัพท์ดังนี้

๑.๑ เลือกใช้คำหรือกลุ่มคำภาษาไทย เช่น
Accelerate บัญญัติว่า เร่ง
Co – ordination บัญญัติว่า การประสาน เป็นต้น

๑.๒ เลือกใช้คำภาษาบาลี ภาษาสันสกฤตที่คนไทยคุ้นเคยและออกเสียงได้สะดวก เช่น
Human บัญญัติว่า มนุษย์
Behavior บัญญัติว่า พฤติกรรม เป็นต้น

๑.๓ บัญญัติศัพท์ด้วยการสมาสหรือสนธิ เช่น
Bibliography บัญญัติว่า บรรณานุกรม
Concept บัญญัติว่า มโนภาพ เป็นต้น

๑.๔ บัญญัติด้วยการทับศัพท์ เช่น
Id บัญญัติว่า อิด เป็นต้น

๑.๕ เลียนเสียงคำศัพท์เดิม ด้วยการนำคำภาษาบาลีภาษาสันสกฤตที่มีความหมายเหมือนกับคำศัพท์เดิม เช่น
Innovation บัญญัติว่า นวตกรรม เป็นต้น

๑.๖ สร้างคำใหม่ด้วยคำภาษาบาลีภาษาสันสกฤต เช่น
Gift บัญญัติว่า ทายวุฒิ เป็นต้น

๑.๗ แปลความหมายตรงตัว เช่น
Field Work บัญญัติว่า งานสนาม เป็นต้น

๑.๘ ถ่ายทอดจากคำศัพท์เดิม เช่น
ccerditing บัญญัติว่า วิธีการดำเนินการรับ

รองวิทยฐานะ เป็นต้น

๒. ยึดหลักการออกเสียงของกรุงเทพมหานครเป็นเกณฑ์

๓. พยายามบัญญัติศัพท์ให้คำศัพท์หนึ่ง มีหนึ่งความหมาย หากศัพท์บัญญัติคำเดียวมีหลายความหมายก็อาจบัญญัติศัพท์หลายคำได้

๔. ศัพท์ภาษาอังกฤษ ที่มีความหมายไม่ตรงกับคำศัพท์ที่คนไทยใช้คำเดียว ก็ต้องบัญญัติศัพท์ขึ้นใหม่ให้ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษและให้ใกล้เคียงกับศัพท์ไทยด้วยเช่น

Attitude ไทยว่า คติ ซึ่งไม่ตรงกับศัพท์ต้นบัญญัติ จึงต้องบัญญัติใหม่ว่า ทัศนคติ และต่อมาบัญญัติใหม่ว่า เจตคติ เป็นต้น

การเพิ่มจำนวนคำในภาษาจะด้วยวิธีการสร้างคำแบบใดก็ตาม ล้วนเพื่อสนองความต้องการในการสื่อสารของมนุษย์ การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางสังคม การขยายตัว และความ

เจริญก้าวหน้าของวิทยาการและเทคโนโลยีทั้งสิ้น
ที่มา ผศ.จรรยา ทองดี

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:33, 29 กรกฎาคม 2553

การบัญญัติศัพท์ คือการสร้างคำใหม่ ที่อาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป การบัญญัติศัพท์ ขึ้นมาอาจเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์

ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่างๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ