ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรยางศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ข้อความ+หมวดหมู่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


==ไตรยางศ์มีดังนี้==
==ไตรยางศ์มีดังนี้==
*[[อักษรสูง]] มี 9 ตัว ได้แก่ [[ข]] [[ฃ]] [[ฉ]] [[ฐ]] [[ถ]] [[ผ]] [[ฝ]] [[ศ]] [[ษ]] [[ส]] [[ห]]
*[[อักษรสูง]] มี 11 ตัว ได้แก่ [[ข]] [[ฃ]] [[ฉ]] [[ฐ]] [[ถ]] [[ผ]] [[ฝ]] [[ศ]] [[ษ]] [[ส]] [[ห]]
*[[อักษรกลาง]] มี 11 ตัว ได้แก่ [[ก]] [[จ]] [[ฎ]] [[ฏ]] [[ด]] [[ต]] [[บ]] [[ป]] [[อ]]
*[[อักษรกลาง]] มี 9 ตัว ได้แก่ [[ก]] [[จ]] [[ฎ]] [[ฏ]] [[ด]] [[ต]] [[บ]] [[ป]] [[อ]]
*[[อักษรต่ำ]] มี 24 ตัว ได้แก่ [[ค]] [[ฅ]] [[ฆ]] [[ง]] [[ช]] [[ซ]] [[ฌ]] [[ญ]] [[ฑ]] [[ฒ]] [[ณ]] [[ท]] [[ธ]] [[น]] [[พ]] [[ฟ]] [[ภ]] [[ม]] [[ย]] [[ร]] [[ล]] [[ว]] [[ฬ]]
*[[อักษรต่ำ]] มี 24 ตัว ได้แก่ [[ค]] [[ฅ]] [[ฆ]] [[ง]] [[ช]] [[ซ]] [[ฌ]] [[ญ]] [[ฑ]] [[ฒ]] [[ณ]] [[ท]] [[ธ]] [[น]] [[พ]] [[ฟ]] [[ภ]] [[ม]] [[ย]] [[ร]] [[ล]] [[ว]] [[ฬ]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:03, 25 ตุลาคม 2549

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

ไตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่ คือระบบการจัดหมวดหมู่อักษรไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ ของพยัญชนะแต่ละหมวด เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วยวรรณยุกต์หนึ่งๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน การจัดหมวดพยัญชนะ ทำให้การเรียนภาษาไทยง่ายขึ้น ด้วยเหตุนี้ จึงเชื่อว่า ในชั้นแรกนั้น การแบ่งหมวดหมู่พยัญชนะน่าจะทำขึ้นเพื่อประโยชน์ในการแต่งตำราสอนภาษาไทยแก่นักเรียน

อนึ่ง คำว่า ไตรยางศ์ มาจากคำศัพท์ในภาษาสันสกฤตว่า "ตฺรยฺ" (สาม) + "อํศ" (ส่วน) หมายถึง สามส่วน นั่นเอง

ไตรยางศ์มีดังนี้

ในจำนวนนี้ ยังมีอักษรสูงและอักษรต่ำจำนวนหนึ่ง ที่มีลักษณะเสียงอย่างเดียวกัน แต่ในพื้นเสียงต่างกัน นั่นคือ พวกหนึ่งมีพื้นเสียงสูง อีกพวกหนึ่งมีพื้นเสียงเป็นเสียงต่ำ จัดเป็นคู่ได้ 7 คู่ด้วยกัน เรียกว่า "อักษรคู่"

อักษรคู่

อักษรสูง อักษรต่ำ
ข, ฃ ค, ฅ, ฆ
ช, ฌ
ฐ, ถ ฑ, ฒ, ท, ธ
พ, ภ
ศ, ษ, ส

อักษรคู่เหล่านี้ สามารถนำมาใช้ร่วมกัน เพื่อผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ 5 เสียง เช่นเดียวกับอักษรกลาง ดังนี้

  • คา ข่า ข้า ค้า ขา
  • ฮา ห่า ห้า ฮ้า หา

การจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์นั้น มีหลักฐานปรากฏครั้งแรกในหนังสือจินดามณี เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา เข้าใจว่าเป็นผลงานของพระโหราธิบดี แต่งถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนในเรื่องนี้

อ่านเพิ่มเติม