ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิจิเร็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bossanov (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:Niçiren Budizmi; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


== นิกายย่อย ==
== นิกายย่อย ==
ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนนั้น ไม่ใช่นิกายเดี่ยวๆโดยได้มีการแยกเป็นนิกายย่อยๆออกไป หลังจากการดับขันธ์ของ [[พระนิชิเรน]] โดยก่อนการดับขันธ์ พระนิชิเรน ได้แต่งตั้ง พระสงฆ์อาวุโส 6 คน เพื่อให้ทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย [[พระนิชโช]] (日昭), [[พระนิชิโร]] (日朗), [[พระนิโค]] (日向), [[พระนิตโช]] (日頂),[[ พระนิชิจิ]] (日持), และ [[พระนิกโค]] (日興) แต่ว่า [[พระนิชิจิ]] ได้เดินทางไปยังต่างประเทศและไม่ได้รับข่าวของท่านอีกเลย และพระนิตโชในภายหลังได้มาเป็นศิษย์ของพระนิกโค
ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนนั้น ไม่ใช่นิกายเดี่ยวๆโดยได้มีการแยกเป็นนิกายย่อยๆออกไป หลังจากการดับขันธ์ของ [[พระนิชิเรน]] โดยก่อนการดับขันธ์ พระนิชิเรน ได้แต่งตั้ง พระสงฆ์อาวุโส 6 คน เพื่อให้ทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย [[พระนิชโช]] (日昭), [[พระนิชิโร]] (日朗), [[พระนิโค]] (日向), [[พระนิตโช]] (日頂), [[พระนิชิจิ]] (日持), และ [[พระนิกโค]] (日興) แต่ว่า [[พระนิชิจิ]] ได้เดินทางไปยังต่างประเทศและไม่ได้รับข่าวของท่านอีกเลย และพระนิตโชในภายหลังได้มาเป็นศิษย์ของพระนิกโค


สาเหตุของการแตกแยกนิกายต่างๆนั้นมีหลายประการ อาทิเช่น การแตกแยก การตีความคำสอนที่ผิดเพี้ยนไปของบางนิกาย เป็นต้น พูดได้ว่า พระสงฆ์อาวสุโสมีความเข้าใจในคำสอนของพระนิชิเรนในรูปแบบที่แตกต่างกัน และพระสงฆ์อาวุโสทั้ง 6 รูปนั้นได้ปฏิบัติธรรมที่เบี่ยนเบนไปจากคำสอนของพระนิชิเรน ส่งผลให้ พระนิกโค ซึ่งเห็นความผิดพลาดนี้ได้เดินทางออกจาก วัดคุอนจิ ในปี [[ค.ศ. 1289]] โดยได้กล่าวว่า พระนิโค และพระสงฆ์คนอื่นๆ กำลังไปในทางที่นอกรีต และผิดจากที่พระนิชิเรนสอน ซึ่งทำให้พระนิกโคไม่อาจยอมรับได้
สาเหตุของการแตกแยกนิกายต่างๆนั้นมีหลายประการ อาทิเช่น การแตกแยก การตีความคำสอนที่ผิดเพี้ยนไปของบางนิกาย เป็นต้น พูดได้ว่า พระสงฆ์อาวสุโสมีความเข้าใจในคำสอนของพระนิชิเรนในรูปแบบที่แตกต่างกัน และพระสงฆ์อาวุโสทั้ง 6 รูปนั้นได้ปฏิบัติธรรมที่เบี่ยนเบนไปจากคำสอนของพระนิชิเรน ส่งผลให้ พระนิกโค ซึ่งเห็นความผิดพลาดนี้ได้เดินทางออกจาก วัดคุอนจิ ในปี [[ค.ศ. 1289]] โดยได้กล่าวว่า พระนิโค และพระสงฆ์คนอื่นๆ กำลังไปในทางที่นอกรีต และผิดจากที่พระนิชิเรนสอน ซึ่งทำให้พระนิกโคไม่อาจยอมรับได้
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
* นิชิเรน โคมน ชู
* นิชิเรน โคมน ชู


===นิกายใหม่ๆ===
=== นิกายใหม่ๆ ===
*เรอิยูไค
* เรอิยูไค
*ริชโช โคเซอิ ไค
* ริชโช โคเซอิ ไค
*นิปปอนซัน เมียวโฮจิ
* นิปปอนซัน เมียวโฮจิ
*โคคูชูไคอิ
* โคคูชูไคอิ
*โชชินไคอิ
* โชชินไคอิ
*ฟูจิ ไทเซขิจิ เคนโชไค
* ฟูจิ ไทเซขิจิ เคนโชไค
*ฮนมนโชชู
* ฮนมนโชชู
=== ลัทธิฆราวาส ===
=== ลัทธิฆราวาส ===
* [[โซกา งัคไค]] หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย]] - ถูกคว่ำบาตรแยกออกมาจาก[[นิชิเรนโชชู]]
* [[โซกา งัคไค]] หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย]] - ถูกคว่ำบาตรแยกออกมาจาก[[นิชิเรนโชชู]]
บรรทัด 54: บรรทัด 54:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
===ภาษาอังกฤษ===
=== ภาษาอังกฤษ ===
*''A Dictionary of Buddhist Terms and Concepts''. Nichiren Shoshu International Center, 1983 (Out of print)
* ''A Dictionary of Buddhist Terms and Concepts''. Nichiren Shoshu International Center, 1983 (Out of print)
*''Selected Writings of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1990
* ''Selected Writings of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1990
*''Letters of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1996<br><small>'''Full disclosure statement:''' Although Soka Gakkai retains the copyrights on the foregoing three <!--Not two: Nichiren Shoshu International Center has been subsumed by SGI since the 1992 split between Soka Gakkai and Nichiren Shoshu, and despite its name it was never directly affiliated with Nichiren Shoshu--> works and financed their publication, they show some deviation from similar works published under Soka Gakkai's own name.</small>
* ''Letters of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1996<br /><small>'''Full disclosure statement:''' Although Soka Gakkai retains the copyrights on the foregoing three <!--Not two: Nichiren Shoshu International Center has been subsumed by SGI since the 1992 split between Soka Gakkai and Nichiren Shoshu, and despite its name it was never directly affiliated with Nichiren Shoshu--> works and financed their publication, they show some deviation from similar works published under Soka Gakkai's own name.</small>
*''The Cambridge Encyclopedia of Japan''. Paul Bowring and Peter Kornicki, eds. Cambridge University Press, 1993. ISBN 0-521-40352-9 (Referred to in text as ''Cambridge''.)
* ''The Cambridge Encyclopedia of Japan''. Paul Bowring and Peter Kornicki, eds. Cambridge University Press, 1993. ISBN 0-521-40352-9 (Referred to in text as ''Cambridge''.)
*''Japan: An Illustrated Encyclopedia''. Kondansha, 1993, ISBN 4-06-205938-X; CD-ROM version, 1999. (Referred to in text as ''Illustrated''.)
* ''Japan: An Illustrated Encyclopedia''. Kondansha, 1993, ISBN 4-06-205938-X; CD-ROM version, 1999. (Referred to in text as ''Illustrated''.)
*''The Doctrines and Practice of Nichiren Shoshu''. Nichiren Shoshu Overseas Bureau, 2002<!--this is a valid reference; do not remove it-->
* ''The Doctrines and Practice of Nichiren Shoshu''. Nichiren Shoshu Overseas Bureau, 2002<!--this is a valid reference; do not remove it-->
*''The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism''. Soka Gakkai, 2002, ISBN 4-412-01205-0
* ''The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism''. Soka Gakkai, 2002, ISBN 4-412-01205-0


===ภาษาญี่ปุ่น===
=== ภาษาญี่ปุ่น ===
*''Nichiren Shōshū yōgi'' (日蓮正宗要義; "The essential tenets of Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 1978, rev. ed. 1999
* ''Nichiren Shōshū yōgi'' (日蓮正宗要義; "The essential tenets of Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 1978, rev. ed. 1999
*''Shimpan Bukkyō Tetsugaku Daijiten'' (新版 仏教哲学大辞典: "Grand dictionary of Buddhist philosophy, rev. ed."). Seikyo Shimbunsha, 1985. No ISBN.
* ''Shimpan Bukkyō Tetsugaku Daijiten'' (新版 仏教哲学大辞典: "Grand dictionary of Buddhist philosophy, rev. ed."). Seikyo Shimbunsha, 1985. No ISBN.
*''Nichiren Shōshū-shi no kisoteki kenkyū'' (日蓮正宗史の基礎的研究; "A study of fundaments of Nichiren Shoshu history"). (Rev.) Yamaguchi Handō. Sankibo Bussho-rin, 1993. ISBN 4-7963-0763-X
* ''Nichiren Shōshū-shi no kisoteki kenkyū'' (日蓮正宗史の基礎的研究; "A study of fundaments of Nichiren Shoshu history"). (Rev.) Yamaguchi Handō. Sankibo Bussho-rin, 1993. ISBN 4-7963-0763-X
*''Iwanami Nihonshi Jiten'' (岩波 日本史辞典: "Iwanami dictionary of Japanese history"). Iwanami Shoten, 1999. ISBN 4-00-080093-0 (Referred to in text as ''Iwanami''.)
* ''Iwanami Nihonshi Jiten'' (岩波 日本史辞典: "Iwanami dictionary of Japanese history"). Iwanami Shoten, 1999. ISBN 4-00-080093-0 (Referred to in text as ''Iwanami''.)
*''Nichiren Shōshū Nyūmon'' (日蓮正宗入門; "Introduction to Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 2002
* ''Nichiren Shōshū Nyūmon'' (日蓮正宗入門; "Introduction to Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 2002
*''Kyōgaku Yōgo Kaisetsu Shū'' (教学解説用語集; "Glossary of Nichiren Shoshu Buddhist terms"). (Rev.) Kyōdō Enoki, comp. Watō Henshūshitsu, 2006.
* ''Kyōgaku Yōgo Kaisetsu Shū'' (教学解説用語集; "Glossary of Nichiren Shoshu Buddhist terms"). (Rev.) Kyōdō Enoki, comp. Watō Henshūshitsu, 2006.




บรรทัด 85: บรรทัด 85:
* [http://www.hbsitalia.com Honmon Butsuryushu italian official web site]
* [http://www.hbsitalia.com Honmon Butsuryushu italian official web site]
* [http://www.honmon-butsuryushu.or.jp Honmon Butsuryushu japanese official web site]
* [http://www.honmon-butsuryushu.or.jp Honmon Butsuryushu japanese official web site]
{{โครงศาสนา}}


[[หมวดหมู่:นิกายในพุทธศาสนามหายาน]]
[[หมวดหมู่:นิกายในพุทธศาสนามหายาน]]
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
{{โครงศาสนา}}


[[cs:Ničirenova škola]]
[[cs:Ničirenova škola]]
[[de:Nichiren-Buddhismus]]
[[de:Nichiren-Buddhismus]]
[[en:Nichiren Buddhism]]
[[en:Nichiren Buddhism]]
[[fi:Nichiren-buddhalaisuus]]
[[fr:Bouddhisme de Nichiren]]
[[fr:Bouddhisme de Nichiren]]
[[ko:니치렌슈]]
[[it:Buddhismo Nichiren]]
[[it:Buddhismo Nichiren]]
[[nl:Nichiren-boeddhisme]]
[[ja:日蓮宗]]
[[ja:日蓮宗]]
[[ko:니치렌슈]]
[[nl:Nichiren-boeddhisme]]
[[pt:Budismo de Nitiren]]
[[pt:Budismo de Nitiren]]
[[ru:Нитирэн (буддизм)]]
[[ru:Нитирэн (буддизм)]]
[[tr:Niçiren Budizmi]]
[[fi:Nichiren-buddhalaisuus]]
[[uk:Нітірен-сю]]
[[uk:Нітірен-сю]]
[[zh:日蓮宗]]
[[zh:日蓮宗]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:07, 20 กรกฎาคม 2553

พุทธศาสนานิชิเรน (ญี่ปุ่น: 日蓮系諸宗派, นิชิเรน-เคอิ โช ชูฮะ) เป็นหนึ่งในนิกายทางมหายานของพุทธศาสนา ที่ยึดตามคำสอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ พระนิชิเรน (ค.ศ. 1222ค.ศ. 1282) รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ นิชิเรนโชชูจะเชื่อใน คีมภีร์ พระสัทธรรมปุณฑริกสูตร และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนๆที่ธรรมชาติพุทธะอยู่ในร่างกาย จึงทำให้มนุษย์ทุกๆคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ นิกายนี้จัดเป็นนิกายที่มีคำสอนตรงกันข้ามและโจมตีนิกายมหายานอื่นๆอย่างชัดเจน อาทิเช่น นิกายเซน, นิกายชินงอน, นิกายสุขาวดี, วัชรยาน เป็นต้น ซึ่งนิชิเรน ได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของ มหายานในสมัยนั้น นิกายนิชิเรนมีแตกแยกออกเป็นหลายๆนิกายย่อยและลัทธิต่างๆอีกมากมาย อีกทั้งยังมีแยกออกเป็นกลุ่มศาสนาใหม่มากมาย โดยบางนิกายจะใช้บทสวดเดียวกัน แต่จะมีความแตกต่างในการปฏิบัติ ผู้นับถือนิกายนิชิเรนจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะสามารถนำพาความสุข และสันติสุขมาอยู่โลก

พระนิชิเรน ผู้ก่อตั้ง

ตั้งแต่อายุได้ 16 ปี ถึง 32 ปี พระนิชิเรนได้ศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหลากหลายนิกายนับไม่ถ้วนในประเทศญี่ปุ่น โดยเฉพาะที่ ภูเขาฮิเอะอิ และภูเขาโคยะ โดยในช่วงเวลานั้นศูนย์กลางองพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอยู่ เมือง นาระ และ เกียวโต นิชิเรนได้ประกาศว่า คำสอนที่ถูกต้องแท้จริงของพระพุทธเจ้าศากยมุนี คือ พระสัทธรรมปุณฑริกสูตร หรือ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว ตลอดช่วงชีวิตของพระนิชิเรน ได้ทำการโต้วาทีธรรม และโจมตีหักล้างคำสอนของศาสนาพุทธนิกายอื่นๆในประเทศญี่ปุ่น ว่าเป้นคำสอนนอกรีต และไม่ใช่คำสอนที่แท้จริงของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะกับ นิกายสุขาวดี และ นิกายเซน ซึ่งสมัยน้นเป็นนิกายที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่น ท่านได้แต่งหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ ริสโซ อันโคคุรอน หรือการยังสันติสุขสู่บ้านเมืองด้วยการเผยแผ่คำสอนศาสนาพุทธที่แท้จริง เมื่อ ค.ศ. 1260 เพื่อยื่นเสนอต่อรัฐบาลทหารคามาคูระซึ่งอยู่ภายใต้การบริหารของผู้สำเร็จราชการลำดับที่ 5 โฮโจ โทกิโยริ

ใจความหนังสือเสนอให้ใช้พุทธศาสนาเป็นกฎหมาย และเรียกร้องให้รัฐบาลและชาวญี่ปุ่นเลิกนับถือสนับสนุนคำสอนและนิกายต่างๆ โดยเชื่อว่ารากฐานอันมั่นคงที่เกิดจากพุทธศาสนาที่แท้จริงจะทำให้ญี่ปุ่นสงบสุขและปลอดภัย เนื่องจากญี่ปุ่นในสมัยนั้นประสบปัญหานานับประการ ทั้งภัยธรรมชาติจากแผ่นดินไหวและพายุที่รุนแรง สภาพอากาศผิดธรรมชาติ โรคระบาด ข้าวยากหมากแพง ความระส่ำระสายแย่งชิงอำนาจภายใน และการคุกคามจากจักรวรรดิมองโกล โดยท่านเชื่อว่ามีต้นเหตุมาจากการนับถือคำสอนที่ผิดพลาด ส่งผลให้เทพยาที่คุ้มครองประเทศล้วนหนีหายไป ละปิศาจเข้ามาแทนที่ แต่รัฐบาลทหารคามาคูระปฏิเสธข้อเรียกร้องของท่านทุกครั้งที่ท่านยื่นหนังสือฉบับนี้ ท่านจึงปลีกตัวจากคามาคูระและเริ่มเตรียมรากฐานการเผยแผ่

นิกายย่อย

ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนนั้น ไม่ใช่นิกายเดี่ยวๆโดยได้มีการแยกเป็นนิกายย่อยๆออกไป หลังจากการดับขันธ์ของ พระนิชิเรน โดยก่อนการดับขันธ์ พระนิชิเรน ได้แต่งตั้ง พระสงฆ์อาวุโส 6 คน เพื่อให้ทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย พระนิชโช (日昭), พระนิชิโร (日朗), พระนิโค (日向), พระนิตโช (日頂), พระนิชิจิ (日持), และ พระนิกโค (日興) แต่ว่า พระนิชิจิ ได้เดินทางไปยังต่างประเทศและไม่ได้รับข่าวของท่านอีกเลย และพระนิตโชในภายหลังได้มาเป็นศิษย์ของพระนิกโค

สาเหตุของการแตกแยกนิกายต่างๆนั้นมีหลายประการ อาทิเช่น การแตกแยก การตีความคำสอนที่ผิดเพี้ยนไปของบางนิกาย เป็นต้น พูดได้ว่า พระสงฆ์อาวสุโสมีความเข้าใจในคำสอนของพระนิชิเรนในรูปแบบที่แตกต่างกัน และพระสงฆ์อาวุโสทั้ง 6 รูปนั้นได้ปฏิบัติธรรมที่เบี่ยนเบนไปจากคำสอนของพระนิชิเรน ส่งผลให้ พระนิกโค ซึ่งเห็นความผิดพลาดนี้ได้เดินทางออกจาก วัดคุอนจิ ในปี ค.ศ. 1289 โดยได้กล่าวว่า พระนิโค และพระสงฆ์คนอื่นๆ กำลังไปในทางที่นอกรีต และผิดจากที่พระนิชิเรนสอน ซึ่งทำให้พระนิกโคไม่อาจยอมรับได้

วัดคุอนจิในปัจจุบันเป้นวัดศุนย์กลางของ นิกายนิชิเรนชู ซึ่งเป็นหนึ่งในสองนิกายที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งดำเนินการโดยพระสงฆ์อาวุโสองค์อื่นๆ ส่วนพระนิกโคได้เดินทางไปยังภูเขาไฟฟูจิ และตั้งเป็น วัดไทเซขิจิ ซึ่งเป็นวัดใหญ่ของนิกายนิชิเรนโชชู ในปัจจุบัน ซึ่งพระนิกโคได้สร้างขึ้นหลังจากเดินทางออกมาจากวัดคุอนจิ ในปี ค.ศ. 1290

สำหรับนิกายอื่นๆ นอกจากสองนิกายนี้นั้น มีมากมายอาทิเช่น ฮอกเกะชู, ฮนมน บัตสุริว ชู และ เคมปนฮอกเกะชู และยังมีศาสนาใหม่ๆ ที่ยึดบทสวดหรือคำสอนบางส่วนของพระนิชเรนก็มี อาทิเช่น เรยูไค, ชิโร โคเซอิ ไค และ นิปปอนซัน เมียวโฮจิ ซังฮะ ซึ่งแยกมาจาก นิกายนิชิเรนชู และยังมี โซกา งัคไค หรือ สมาคมสร้างคุณค่าแห่งประเทศไทย , โชชินไคอิ และ เคนโชไค ซึ่งได้แยกออกมาจาก นิชิเรนโชชู

นิกายต่างๆ

  • นิชิเรนโชชู - นิกายสายของพระนิกโค ที่ยึดตามคำสอนและการปฏิบัติแบบพระนิชิเรนดั้งเดิม จัดเป็นหนึ่งในนิกายหัวรุนแรง
  • นิชิเรนชู - นิกายสายของพระสงฆ์อวุโสรูปอื่นๆ
  • ฮนมน บุตสึริว ชู
  • เคมปน ฮอกเกะ
  • ฮอกเกะชู
  • ฮนมน ฮอกเกะ
  • นิชิเรนฮอนชู
  • นิชิเรนชู ฟูจิ-ฟุเซะ-ฮะ
  • ฮอกเกะ นิชิเรนชู
  • ฮอมปะ นิชิเรนชู
  • ฮอนเกะ นิชิเรนชู
  • ฟุจิ-ฟุเซะ นิชิเรนคนมน ชู
  • ฮอนเกะ นิชิเรนชู
  • โชโบะ ฮอกเกะ ชู
  • ฮนมน เคียวโอะ ชู
  • นิชิเรน โคมน ชู

นิกายใหม่ๆ

  • เรอิยูไค
  • ริชโช โคเซอิ ไค
  • นิปปอนซัน เมียวโฮจิ
  • โคคูชูไคอิ
  • โชชินไคอิ
  • ฟูจิ ไทเซขิจิ เคนโชไค
  • ฮนมนโชชู

ลัทธิฆราวาส

คำสอนและการปฏิบัติ

นิกายนิชิเรนส่วนใหญ่จะมีคำสอนคล้ายคลึงกับนิกายเทียนไท้ ที่ยึดสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นพระสูตรหลักเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งคำสอนของพระศากยมุนีเป็น 5 ช่วง หรือลักษณะคำสอน 4 ประการ แต่เทียนไท้จะประนีประนอมมากกว่า เช่น นิกายนิชเรนโชชู จะรับคำสอนของนิกายเทียนไทเในเรื่อง หนึ่งขณะจิตสามพัน (一念三千: Ichinen Sanzen) และ ความจริงสามประการ (三諦: Santai)

พระนิชิเรน ได้เขียนจดหมายถึงศิษย์ และคำสอนต่างๆไว้ ซึ่งถูกรวบรวมไว้เป็นบทธรรมนิพนธ์ ซึ่งยังมีบอกถึงวิถีการปฏิบัติของผู้นับถือ และมุมมองในคำสอนของตัวพระนิชเรนเองลงในจดหมายเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งใช้สำหรับการศึกษาธรรมของผู้นับถือ ซึ่งเรียกว่า โกโช่ หรือ บางนิกายเรียกว่า โก-อิบุน ซึ่งมีมากกว่า 700 ฉบับ ซึ่งบางฉบับนั้นสมบูรณ์ครบถ้วน แต่บางฉบับก็เป็นเพียงเศษกระดาษ ซึ่งได้ถูกส่งต่อมานับศตวรรษ โดยการรวบรวม และการคัดลอก และยังมีหลายฉบับที่เป็นต้นฉบับ ซึ่งส่วนมากตัวต้นฉบับนั้นจะถูกรวมรวมไว้ที่วัดไทเซขิจิ ซึ่งเป็นศุนย์กลางของ นิกาย นิชิเรนโชชู บางฉบับมีเป็นภาษาอังกฤษซึ่งถูกแปลโดยชาวต่างชาติ หรือชาวเอเชียที่รู้ภาษาญี่ปุ่น

นิกายนิชิเรนในประเทศไทย

ในประเทศไทยนั้น นิกายนิชิเรนถูกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาตั้งรกรากหรือมาประจำสำนักงานสาขาในยุคริเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย ซึ่งมีการนำเข้ามาหลายนิกาย ทั้ง นิชิเรนโชชู นิชิเรนชู นิชิเรนฮนมน และ โซกา งัคไค เป็นต้น แต่ที่เด่นชัดและใหญ่ที่สุดคือ นิชิเรนโชชู และ โซกา งัคไค ซึ่งนิกายนิชิเรนโชชูนั้น ถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกโดยดร. พิภพ ตังคณะสิงห์ ซึ่งเป็นคนไทยคนแรกที่นับถือนิกายนี้อย่างเป็นทางการ และได้ก่อตั้ง สมาคมธรรมประทีป ซึ่ง ดร.พิภพ นี้ก็ยังเป็นผู้แปลบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเรน เป็นภาษาไทยอีกด้วย

อ้างอิง

ภาษาอังกฤษ

  • A Dictionary of Buddhist Terms and Concepts. Nichiren Shoshu International Center, 1983 (Out of print)
  • Selected Writings of Nichiren. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1990
  • Letters of Nichiren. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1996
    Full disclosure statement: Although Soka Gakkai retains the copyrights on the foregoing three works and financed their publication, they show some deviation from similar works published under Soka Gakkai's own name.
  • The Cambridge Encyclopedia of Japan. Paul Bowring and Peter Kornicki, eds. Cambridge University Press, 1993. ISBN 0-521-40352-9 (Referred to in text as Cambridge.)
  • Japan: An Illustrated Encyclopedia. Kondansha, 1993, ISBN 4-06-205938-X; CD-ROM version, 1999. (Referred to in text as Illustrated.)
  • The Doctrines and Practice of Nichiren Shoshu. Nichiren Shoshu Overseas Bureau, 2002
  • The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism. Soka Gakkai, 2002, ISBN 4-412-01205-0

ภาษาญี่ปุ่น

  • Nichiren Shōshū yōgi (日蓮正宗要義; "The essential tenets of Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 1978, rev. ed. 1999
  • Shimpan Bukkyō Tetsugaku Daijiten (新版 仏教哲学大辞典: "Grand dictionary of Buddhist philosophy, rev. ed."). Seikyo Shimbunsha, 1985. No ISBN.
  • Nichiren Shōshū-shi no kisoteki kenkyū (日蓮正宗史の基礎的研究; "A study of fundaments of Nichiren Shoshu history"). (Rev.) Yamaguchi Handō. Sankibo Bussho-rin, 1993. ISBN 4-7963-0763-X
  • Iwanami Nihonshi Jiten (岩波 日本史辞典: "Iwanami dictionary of Japanese history"). Iwanami Shoten, 1999. ISBN 4-00-080093-0 (Referred to in text as Iwanami.)
  • Nichiren Shōshū Nyūmon (日蓮正宗入門; "Introduction to Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 2002
  • Kyōgaku Yōgo Kaisetsu Shū (教学解説用語集; "Glossary of Nichiren Shoshu Buddhist terms"). (Rev.) Kyōdō Enoki, comp. Watō Henshūshitsu, 2006.


แหล่งข้อมูลอื่น