ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลู่เข้าสัมบูรณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: uk:Абсолютна збіжність
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: pl:Szereg (matematyka)#Zbieżność bezwzględna i warunkowa; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
* Walter Rudin, ''Principles of Mathematical Analysis'' (McGraw-Hill: New York, 1964).
* Walter Rudin, ''Principles of Mathematical Analysis'' (McGraw-Hill: New York, 1964).
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:อนุกรมคณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:อนุกรมคณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:แคลคูลัสเชิงปริพันธ์]]
[[หมวดหมู่:แคลคูลัสเชิงปริพันธ์]]
[[หมวดหมู่:คณิตวิเคราะห์]]
[[หมวดหมู่:คณิตวิเคราะห์]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[bs:Apsolutna konvergencija]]
[[bs:Apsolutna konvergencija]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
[[fr:Convergence absolue]]
[[fr:Convergence absolue]]
[[nl:Absolute convergentie]]
[[nl:Absolute convergentie]]
[[pl:Szereg (matematyka)#Zbieżność bezwzględna i warunkowa]]
[[ru:Абсолютная сходимость]]
[[ru:Абсолютная сходимость]]
[[sv:Absolutkonvergens]]
[[sv:Absolutkonvergens]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:42, 1 กรกฎาคม 2553

ในทางคณิตศาสตร์ การลู่เข้าสัมบูรณ์ (อังกฤษ: absolute convergence) ของอนุกรมหรือปริพันธ์ใดๆ จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ ผลลัพธ์ของค่าสัมบูรณ์ของตัวบวกหรือปริพัทธ์ (integrand) นั้นมีค่าอยู่ในเซตจำกัด คุณสมบัติของการลู่เข้าสัมบูรณ์เป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญ เนื่องจากเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการจัดเรียงใหม่ของผลคูณของผลบวก

หากจะระบุให้เจาะจงกว่านี้ กำหนดให้อนุกรม จะเรียกได้ว่าลู่เข้าสัมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ

ในกรณีเดียวกัน กำหนดให้ปริพันธ์ จะเรียกได้ว่าลู่เข้าสัมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ

อ้างอิง

  • Walter Rudin, Principles of Mathematical Analysis (McGraw-Hill: New York, 1964).