ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|||พระยาราชวังสัน}}
{{ชื่ออื่น|||พระยาราชวังสัน}}
[[ไฟล์:พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน).jpg|thumb|พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)]]
'''พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) ''' ([[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2429]] - [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2482]]) <ref>เกิดวังปารุสก์ พระนิพนธ์ใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์</ref> อดีตรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงกลาโหม]]
'''พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) ''' ([[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2429]] - [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2482]]) <ref>เกิดวังปารุสก์ พระนิพนธ์ใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์</ref> อดีตรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงกลาโหม]]


บรรทัด 12: บรรทัด 13:


{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม}}

{{เรียงลำดับ|ศรี กมลนาวิน}}
{{เกิดปี|2429}}{{ตายปี|2482}}
{{เกิดปี|2429}}{{ตายปี|2482}}
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย]]
[[หมวดหมู่:ทหารเรือชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ทหารเรือชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการทูตชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการทูตชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ชาวสมุทรสาคร]]
[[หมวดหมู่:ชาวสมุทรสาคร]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา|]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา|ราชวังสัน]]
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:52, 13 มิถุนายน 2553

ไฟล์:พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน).jpg
พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)

พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) [1] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของ หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) [2] สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ ) เมื่อ พ.ศ. 2456 ต่อมาเมื่อนางถนอมศรีถึงแก่กรรม จึงสมรสกับ นางสาว ระจิตร วีระศิริ (คุณหญิงระจิตร ราชวังสัน) น้องสาวภรรยา

ศรี กมลนาวิน จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษ [3] เข้าเรียนเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2446 [4] ได้ถวายตัวต่อพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เพื่อเข้าเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2449 และรับราชการทหารเรือ เคยเป็นผู้บังคับการ เรือหลวงคำรณสินธุ์ เดินทางจากประเทศญี่ปุ่นมายังประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2455 [5] ขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์เป็น นาวาตรี หลวงประดิยัตินาวายุทธ (ศรี) ร.น. เป็นผู้บังคับการเรือพระที่นั่งมหาจักรี [6] เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนนายเรือ เสนาธิการทหารเรือ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาราชวังสัน เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2464 ในรัชกาลที่ 6 [2] และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นองคมนตรีไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อ พ.ศ. 2470-2476 เป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2475-2476)

พลเรือโท พระยาราชวังสัน เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน ระหว่าง พ.ศ. 2478-2482 [7]

อ้างอิง