ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== การทำงาน ==
== การทำงาน ==


นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัด[[พรรคชาติไทย]] ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2539|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2539]] ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2544]] จึงย้ายมาลงสมัครในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] ในการทำงานการเมืองได้รับตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ
นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัด[[พรรคชาติไทย]] ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2539|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2539]] ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2544]] จึงย้ายมาลงสมัครในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] ในการทำงานการเมืองได้รับตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง

*เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ[[ทบวงมหาวิทยาลัย]]
*ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]]
*ที่ปรึกษา[[นายกรัฐมนตรี]] ([[ชวลิต ยงใจยุทธ|พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ]]) ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ([[จาตุรนต์ ฉายแสง|นายจาตุรนต์ ฉายแสง]]) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร|กระทรวงไอซีที]] พ.ศ. 2546


นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=91878&pdate=2009/06/09&pno=1&pagegroup=1/ แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ]</ref> และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2553]] ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์<ref>http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000079608&Keyword=%c0%d9%c1%d4%b9%b7%c3%ec“ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน</ref>
นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=91878&pdate=2009/06/09&pno=1&pagegroup=1/ แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ]</ref> และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2553]] ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์<ref>http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000079608&Keyword=%c0%d9%c1%d4%b9%b7%c3%ec“ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน</ref>

ประสบการณ์:
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๓๕ - ๒๕๓๘
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๓๙ - ๒๕๔๓
สมาชิก สภาผู้แทนระบบบัญชีรายชื่อพรรคไทยรักไทย ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗
กรรมาธิการ วิสามัญงบประมาณรายจ่ายประจำปี ปี ๒๕๓๘ , ๒๕๔๑
กรรมาธิการการต่างประเทศ ปี ๒๕๓๕ –๒๕๓๘ , ๒๕๓๙ - ๒๕๔๓
กรรมาธิการการสาธารณสุข ปี ๒๕๓๕ - ๒๕๓๘
กรรมาธิการ การอุตสาหกรรม ปี ๒๕๓๙- ๒๕๔๓
กรรมาธิการการสวัสดิการสังคม ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗
กรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗
เลขานุการรัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ปี ๒๕๔๐
ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการสาธารณสุข ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๖
ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ปี ๒๕๔๐
ที่ ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๔๐
ที่ปรึกษารองนายก รัฐมนตรี ( จาตุรนต์ ฉายแสง ) ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗
ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปี ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:31, 10 มิถุนายน 2553

นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ

ประวัติ

นายแพทย์ภูมินทร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 (60 ปี) ที่ตำบลหนองหญ้าลาด อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ สำเร็จการศึกษาจากแพทย์ศาสตร์บัณฑิต (ศิริราช) มหาวิทยาลัยมหิดล

การทำงาน

นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคชาติไทย ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และการเลือกตั้ง พ.ศ. 2539 ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 จึงย้ายมาลงสมัครในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการทำงานการเมืองได้รับตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง

นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 [1] และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์[2]

ประสบการณ์: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๓๕ - ๒๕๓๘ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๓๙ - ๒๕๔๓ สมาชิก สภาผู้แทนระบบบัญชีรายชื่อพรรคไทยรักไทย ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ กรรมาธิการ วิสามัญงบประมาณรายจ่ายประจำปี ปี ๒๕๓๘ , ๒๕๔๑ กรรมาธิการการต่างประเทศ ปี ๒๕๓๕ –๒๕๓๘ , ๒๕๓๙ - ๒๕๔๓ กรรมาธิการการสาธารณสุข ปี ๒๕๓๕ - ๒๕๓๘ กรรมาธิการ การอุตสาหกรรม ปี ๒๕๓๙- ๒๕๔๓ กรรมาธิการการสวัสดิการสังคม ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ กรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ เลขานุการรัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ปี ๒๕๔๐ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการสาธารณสุข ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๖ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ปี ๒๕๔๐ ที่ ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๔๐ ที่ปรึกษารองนายก รัฐมนตรี ( จาตุรนต์ ฉายแสง ) ปี ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปี ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗

อ้างอิง

  1. แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
  2. http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000079608&Keyword=%c0%d9%c1%d4%b9%b7%c3%ec“ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน

ดูเพิ่ม