ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวออกซิไดซ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Loveless (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ja, lt, lv, tr, uk
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
[[fr:Comburant]]
[[fr:Comburant]]
[[hr:Oksidans]]
[[hr:Oksidans]]
[[ja:酸化剤]]
[[ko:산화제]]
[[ko:산화제]]
[[lt:Oksidatorius]]
[[lv:Oksidētājs]]
[[nl:Oxidator]]
[[nl:Oxidator]]
[[pl:Utleniacz]]
[[pl:Utleniacz]]
บรรทัด 29: บรรทัด 32:
[[ru:Окислитель]]
[[ru:Окислитель]]
[[sk:Oxidačné činidlo]]
[[sk:Oxidačné činidlo]]
[[tr:Oksidant]]
[[uk:Окисник]]
[[zh:氧化剂]]
[[zh:氧化剂]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:05, 15 เมษายน 2553

ตัวรับอิเล็กตรอนเป็นสารที่เข้าทำปฏิกิริยารีดอกซ์โดยรับอิเล็กตรอนจากตัวให้อิเล็กตรอนทำให้เกิดการถ่ายเทอิเล็กตรอนขึ้น พลังงานในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจากการถ่ายเทอิเล็กตรอนจากตัวรับอิเล็กตรอนที่เลวไปสู่ตัวรับอิเล็กตรอนที่ดีที่สุด และปล่อยพลังงานออกมา ที่นำไปใช้ในปฏิกิริยาต่างๆได้

ตัวรับอิเล็กตรอนในสิ่งมีชีวิต

ตัวรับอิเล็กตรอนที่สำคัญในสิ่งมีชีวิต ได้แก่

  • Nicotinamide adenine dinucleotide (NAD+) หรือเอ็นเอดี เมื่อรับอิเล็กตรอนจะอยู่ในรูป NADH + H+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนสำคัญในไมโตคอนเดรีย
  • Nicotinamide adenine dinucleotide phosphate (NADP+) หรือเอ็นเอดีพี เมื่อรับอิเล็กตรอนจะอยู่ในรูป NADPH + H+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนสำคัญในคลอโรพลาสต์
  • ฟลาวิน นิวคลีโอไทด์ หรือ เอฟเอดี (FAD+) เป็นตัวรับอิเล็กตรอนในวัฏจักรเครบส์ พบในไมโตคอนเดรีย เมื่อรับอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนรูปเป็น FADH2
  • ยูบิควิโนน (ubiquinone; UQ) เป็นโปรตีนขนาดเล็ก แทรกอยู่ในชั้นไขมันของเยื่อหุ้มชั้นในของไมโตคอนเดรีย เคลื่อนที่ภายในเยื่อหุ้มได้ดี จึงช่วยรับส่งอิเล็กตรอนระหว่างตัวรับขนาดใหญ่ที่เคลื่อนที่ในเยื่อหุ้มได้ไม่ดี
  • ไซโตโครม (cytochrome) เป็นตัวพาอิเล็กตรอนที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ พบในเยื่อหุ้มชั้นในของไมโตคอนเดรีย และเยื่อหุ้มไทลาคอยด์ของคลอโรพลาสต์ มี 3 ชนิดคือชนิด เอ บี ซี ในไมโตคอนเดรีย ไซโตโครมซี เป็นโปรตีนที่จับอยู่กับผิวนอกของเยื่อหุ้มชั้นใน
  • โปรตีนเหล็ก-กำมะถัน (iron-sulfur protein) เป็นโปรตีนที่มีเหล็กและกำมะถัน เป็นองค์ประกอบ