ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: gn, ka ลบ: fa แก้ไข: ko, lt, sv
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[et:Jalg]]
[[et:Jalg]]
[[eu:Hanka]]
[[eu:Hanka]]
[[fa:پا]]
[[fi:Jalka]]
[[fi:Jalka]]
[[fiu-vro:Jalg]]
[[fiu-vro:Jalg]]
[[gn:Tetyma]]
[[he:רגל]]
[[he:רגל]]
[[id:Tungkai]]
[[id:Tungkai]]
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
[[it:Arto inferiore]]
[[it:Arto inferiore]]
[[ja:脚]]
[[ja:脚]]
[[ko:다리 (동물)]]
[[ka:ფეხი]]
[[ko:다리 (해부학)]]
[[la:Crus]]
[[la:Crus]]
[[lt:Apatinės galūnės]]
[[lt:Koja]]
[[lv:Kāja]]
[[lv:Kāja]]
[[nl:Been (ledemaat)]]
[[nl:Been (ledemaat)]]
บรรทัด 65: บรรทัด 66:
[[ru:Нога]]
[[ru:Нога]]
[[simple:Leg]]
[[simple:Leg]]
[[sv:Ben (extremitet)]]
[[sv:Ben (kroppsdel)]]
[[ta:கால்]]
[[ta:கால்]]
[[te:కాలు]]
[[te:కాలు]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:46, 26 มีนาคม 2553

แผนภาพของขาแมลง

ขา เป็นส่วนหนึ่งในร่างกายของสัตว์ที่รองรับน้ำหนักทั้งหมด อยู่ระหว่างข้อเท้าและสะโพก ใช้ในการเคลื่อนที่ ปลายสุดของขามักเป็นโครงสร้างที่พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงเป็นโครงสร้างอื่นที่รับน้ำหนักของสัตว์บนพื้น (ดู เท้า) รยางค์ล่าง (lower limb) ของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีสองขา (bipedal vertebrate) มักจะเป็นขาของสัตว์นั้นๆ ส่วนรยางค์บน (upper limb) มักจะเป็นแขนหรือปีก

จำนวนขาของสัตว์มักเป็นจำนวนคู่ นักอนุกรมวิธานอาจจัดสัตว์ออกเป็นกลุ่มตามจำนวนขา

  • Uniped: 1
  • Biped: 2
  • Tripedal: 3
  • Quadruped: 4
  • Quinped: 5
  • อาร์โธรโพดา (Arthropoda): 4, 6, 8, 12, or 14
    • สัตว์จำพวกอาร์โธรโพดาบางตัวอาจมีขาเป็นจำนวนมากมาย บางชนิดมีถึงร้อยขา จึงแบ่งออกได้เป็นกลุ่มดังนี้ตามจำนวนขา
      • Centipedes หรือพวกตะขาบ โดยทั่วไปมีขาน้อยกว่าหนึ่งร้อยขา
      • Millipedes หรือพวกกิ้งกือ มีจำนวนขาน้อยกว่าหนึ่งพันขา

วิวัฒนาการ

ขามีวิวัฒนาการมาหลายครั้ง เห็นได้ชัดในระหว่างสัตว์จำพวกอาร์โธรโพดา (ครัสเทเชียน, แมลง, แมงมุม ฯลฯ) และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในกรณีทั้งสอง มีแนวคิดว่าในระยะแรกขามีวิวัฒนาการเพื่อการเคลื่อนที่ในน้ำ ต่อมาเมื่อมีการวิวัฒนาการขึ้นมาอาศัยอยู่บนบกจึงมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีลูกหลานรุ่นต่อๆ มา

ขาของมนุษย์

กระดูกขาของมนุษย์ประกอบด้วย

แหล่งข้อมูลอื่น