ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกซ์86"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinamik-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ja:X86
MondalorBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: simple:X86; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ [[8086]], [[80186]], [[80286]], [[386]] และ [[486]] ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "[[เพนเทียม]]" (Pentium) แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้
ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ [[8086]], [[80186]], [[80286]], [[386]] และ [[486]] ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "[[เพนเทียม]]" (Pentium) แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้


ใน ค.ศ. 1985 อินเทลได้ออกซีพียู 386 แบบ 32 บิตมาแทนที่ซีพียู 286 ที่เป็นแบบ 16 บิต สถาปัตยกรรมแบบ 32 บิตนี้จึงเรียกว่า '''x86-32''' หรือ '''IA-32''' (IA ย่อมาจาก Intel Architecture) ในปี ค.ศ. 2003 บริษัท[[เอเอ็มดี]] (Advance Micro Devices) ได้ออกซีพียู [[แอธลอน 64]] (Athlon64) ซึ่งขยายความสามารถให้ทำงานที่ 64 บิต และมีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ [[x86-64]], [[AMD64]] (ชื่อเรียกของเอเอ็มดี), [[EM64T]], [[IA-32e]] (อินเทล), [[x64]] (ไมโครซอฟท์) ซึ่งเป็นคนละตัวกับสถาปัตยกรรม [[IA-64]] ของอินเทล
ใน ค.ศ. 1985 อินเทลได้ออกซีพียู 386 แบบ 32 บิตมาแทนที่ซีพียู 286 ที่เป็นแบบ 16 บิต สถาปัตยกรรมแบบ 32 บิตนี้จึงเรียกว่า '''x86-32''' หรือ '''IA-32''' (IA ย่อมาจาก Intel Architecture) ในปี ค.ศ. 2003 บริษัท[[เอเอ็มดี]] (Advance Micro Devices) ได้ออกซีพียู [[แอธลอน 64]] (Athlon64) ซึ่งขยายความสามารถให้ทำงานที่ 64 บิต และมีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ [[x86-64]], [[AMD64]] (ชื่อเรียกของเอเอ็มดี), [[EM64T]], [[IA-32e]] (อินเทล), [[x64]] (ไมโครซอฟท์) ซึ่งเป็นคนละตัวกับสถาปัตยกรรม [[IA-64]] ของอินเทล


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
| url = http://ieeexplore.ieee.org/iel5/2/30853/01430630.pdf?tp=&isnumber=&arnumber=1430630
| url = http://ieeexplore.ieee.org/iel5/2/30853/01430630.pdf?tp=&isnumber=&arnumber=1430630
}}
}}
{{โครงคอม}}


[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:อินเทล]]
[[หมวดหมู่:อินเทล]]
{{โครงคอม}}


[[bg:X86]]
[[bg:X86]]
บรรทัด 60: บรรทัด 60:
[[pt:X86]]
[[pt:X86]]
[[ru:X86]]
[[ru:X86]]
[[simple:X86]]
[[sk:X86]]
[[sk:X86]]
[[sv:X86]]
[[sv:X86]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:03, 20 มีนาคม 2553

ชิปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง

x86 หรือ 80x86 เป็นชื่อทั่วไปของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์ที่สร้างโดยบริษัทอินเทล ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ในไอบีเอ็มพีซี ช่วงทศวรรษที่ 80

ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ 8086, 80186, 80286, 386 และ 486 ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "เพนเทียม" (Pentium) แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้

ใน ค.ศ. 1985 อินเทลได้ออกซีพียู 386 แบบ 32 บิตมาแทนที่ซีพียู 286 ที่เป็นแบบ 16 บิต สถาปัตยกรรมแบบ 32 บิตนี้จึงเรียกว่า x86-32 หรือ IA-32 (IA ย่อมาจาก Intel Architecture) ในปี ค.ศ. 2003 บริษัทเอเอ็มดี (Advance Micro Devices) ได้ออกซีพียู แอธลอน 64 (Athlon64) ซึ่งขยายความสามารถให้ทำงานที่ 64 บิต และมีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ x86-64, AMD64 (ชื่อเรียกของเอเอ็มดี), EM64T, IA-32e (อินเทล), x64 (ไมโครซอฟท์) ซึ่งเป็นคนละตัวกับสถาปัตยกรรม IA-64 ของอินเทล

อ้างอิง

  • Adams, Keith (2006-21-2006). "A Comparison of Software and Hardware Techniques for x86 Virtualization" (PDF). Proceedings of the International Conference on Architectural Support for Programming Languages and Operating Systems, San Jose, CA, USA, 2006. ACM 1-59593-451-0/06/0010. สืบค้นเมื่อ 2006-12-22. {{cite conference}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |booktitle= ถูกละเว้น แนะนำ (|book-title=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Rosenblum, Mendel (May, 2005). "Virtual machine monitors: current technology and future trends" (PDF). IEEE Computer, volume 38, issue 5. {{cite conference}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |booktitle= ถูกละเว้น แนะนำ (|book-title=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)