ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-80"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยน หมวดหมู่:เครื่องบินแมคดอนเนลล์ดักลาส → หมวดหมู่:เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส
Greannoreftag (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ ภาษา
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
[[หมวดหมู่:เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส]]
[[หมวดหมู่:อากาศยานเชิงพาณิชย์]]
[[หมวดหมู่:อากาศยานเชิงพาณิชย์]]


[[en:McDonnell Douglas MD-80]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:30, 9 มีนาคม 2553

แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-80 ซีรี่ซ์ (McDonnell Douglas MD-80 series) เป็นเครื่องบินเจ็ต ชั้นเดียว มี 2 เครื่องยนต์ เครื่องบิน เอ็มดี-80 มีการปรับปรุงทำให้ความยาวของเครื่องิยเพิ่มขึ้นจาก รุ่น ดีซี-9 เครื่องบินรุ่น เอ็มดี-80 สามารถรองรับรู้โดยสารได้ 130-172 คน แต่โดยปกติในสายการบินราคาปกติจะรองรับผู้โดยสาร 140 คน และ 165 คนในสายการบินราคาประหยัด

เอ็มดี-80 เปิดตัวเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2523 โดยสายการบิน Swissair ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยมีการปรับปรุงมาจาก เอ็มดี-90 ในปี พ.ศ. 2532 และ เอ็มดี-95 หรือ โบอิ้ง 717 ในปี พ.ศ. 2541

การออกแบบและการพัฒนา

พื้นหลัง

เครื่องบินดักลาส พัฒนามาจากรุ่น ดีซี-9 ในปี 1960s ซึ่งม่ขนาดยาวกว่า ดีซี-8 ด๊ซี-9 ได้มีการออกแบบใหม่ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นส่วนเครื่องยนต์ที่อยู่ด้านหลังของลำตัวเครื่องบิน และหาง โดย ดีซี-9 มีลำตัวที่แคบ โดยมีที่นั่งผู้โดยสั่งฝั่งละ 5 ที่นั่ง และรองรับผู้โดยสารได้ 80-135 คน ขึ้นอยู่กับการจัดการที่นั่งของผู้โดยสารและเครื่องบินในแต่ละเวอร์ชัน

รุ่น เอ็มดี-80 เป็นเครื่องบินรุ่นที่สองของ ดีซี-90 ชื่อเดิมของ เอ็มดี-80 มีชื่อเรียกว่า ดีซี-9-80 หรือ ดีซี-9 ซูปเปอร์ 80 และให้บริการในปี 1980 เอ็มดี-80 ที่พัฒนามาจาก เอ็มดี-90 ให้บริการในปี 1955 การพัฒนาเปลี่ยนแปลงครั้งสุดทายของตระกูล ดีซี-9 คือ เอ็มดี-95 และได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น โบอิ้ง 717-200 หลังจาก แมคคอนเนลล์ดักลาส ได้ขายกิจการใน โบอิ้ง ในปี 1997

ตระกูล ดีซี-9 เป็นหนึ่งในเครื่องบินเจ็ตที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยสร้างได้มากกว่า 2,400 ลำ เป็นอันดับที่สาม รองมาจาก ตระกูล แอร์บัส เอ-320 ลำดับที่สอง ซึ่งสร้างได้มากกว่า 3,000 ลำ และ โบอิ้ง 737 เป็นอันดับที่หนึ่ง ซึ่งสร้างได้มากกว่า 5,000 ลำ

เอ็มดี-80 ซี่รีซ์

เอ็มดี-80 ซี่รีซ์ เป็นเครื่องบินขนาดกลาง เปิดตัวในปี 1980 เป็นเครื่องบินรุ่นที่สองของ ตระกูล ดีซี-9 ซึ่งมีเครื่องยนต์ ทอร์โบแฟน ขนาดเล็ก ตั้งอยู่ทางตอนหลังของลำตัวเครื่องบิน มีปีกที่มีประสิทธิภาพสูง และมีหางอยู่ด้านบนในส่วนตอนหลัง (T-tail) เครื่องบินรุ่นนี้มีจุดเด่นคือ มีที่นั่งผู้ดดยสารฝั่งละ 5 คน และทำให้ลำตัวเครื่องบินมีความยาวออกไปมากกว่า เอ็มดี-9-50 และสามารถ Take off ได้โดยขณะที่เครื่องบินมีน้ำหนักมาก และมีความสามารถในการขนส่งน้ำมัน เครื่องบินรุ่นนี้ออกมามาสำหรับ การใช้งานบ่อย ๆ การเดินที่หรือการขนส่งที่สั่น โดยสามารถรองรับผู้โดยสารได้เพียง 130-172 คนต่อเที่ยวบิน ขึ้นอยู่กับเวอร์ชันของเครื่องบินและการจัดการที่นั่งของแต่ละสายการบิน

การพัฒนาเครื่องบินรุ่น เอ็มดี-80 เริ่มพัฒนาขึ้นในปี 1970 ขณะที่ยังมีการขยายตัวและเพิ่มขึ้นของเครื่องบินรุ่น ดีซี-9 ซีรีซ์ 50 Pratt & Whitney JT8D เป็นเครื่องยนต์ใหม่ที่ใช้ขับเคลื่อนเครื่องบินรุ่น ดีซี-9 ซีรีซ์ 55 ซีรีซ์ 50 และ ซีรีซ์ 60 ในการออกแบบมีความพยายามที่จะติดตั้งให้กับเครื่องบินรุ่น ดีซี-9 ซีรีซ์ 55 ในเดือน สิงหาคม 1977 และใช้งานได้จริงในปี 1980 จากการออกแบบนั้นครั้งนี้ ทำให้สายการบินมีความต้องการเป็นจำนวนมาก ทำให้สายการบิน Swissair ได้ปล่อย เครื่องบิน ซีรีซ์ 80 ออกมาในเดือน ตุลาคม 1977 และมีคำสั่งซื้อมากกว่า 15 ลำ

ซีรีซ์ 80 มีความยาวของลำตัว 14 ฟุต 3 นิ้ว ซึ่งยาวกว่า ดีซี-9-50 ปีของ ดีซี-9 มีการออกแบบใหม่ โดยเพิ่มความยาวของปีกหลักและจุดปลายสุดของปีอีก 28% ซีรีซ์ 80 เริ่มบินครั้งแรก เมื่อ วันที่ 19 ตุลาคม 1979

หลังจากให้บริการปี 1980 โดยเริ่มแรกมีการรับรองเครื่องบิน เวอร์ชันของ ดีซี-9 แต่มีการเปลี่ยนเป็น เอ็มดี-80 ใน เดือน กรกฎาคม 1983 ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของบริษัท เวอร์ชันใหม่ของซีรีซ์ 80 คือ เอ็มดี-81/82/83 และล่าสุดคือ เอ็มดี-87 อย่างไรก็ตาม ดีซี-90-81/82 และรุ่นอื่น ๆก็ได้รับใบรับรอง โดยเฉพาะ เอ็มดี-88 ได้มีการให้ใบรับรองชื่อว่า "เอ็มดี" และรวมถึง เอ็มดี-90 ด้วย