ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกสริยาสถูป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
{{สถานที่สำคัญในพุทธสถาน
'''เกสริยา''' (อังกฤษ: Kesariya, เทวนาครี: केसरिया) ในปัจจุบัน เป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศอินเดีย]] แต่ไม่ใช่สถานที่อยู่ของพวกกาลามชนหรือกาลามโคตร หรือเกสปุตนิคมแต่อย่างใด อย่าเข้าใจผิด เพราะว่าเกสเรียปัจจุบันอยู่ในเขตพรมแดนของแคว้นวัชชีและมัลละต่อกัน (รัฐพิหารในปัจจุบัน) ที่บอกว่าเป็นที่อยู่ของพวกชาวกาลามโคตรหรือกาลามชน อยู่ในแคว้นโกศล แคว้นโกศลอยู่ห่างจากนี้ไปไกลมากเป็นข้อมูลที่ผิด (แคว้นโกศล มีเมืองหลวงชื่อสาวัตถี ปัจจุบันอยู่ในขตรัฐอุตรประเทศ)

'''เกสปุตตนิคม''' หรือ '''เกสริยา''' (อังกฤษ: Kesariya, เทวนาครี: केसरिया) ในปัจจุบัน เป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศอินเดีย]] ในสมัย[[พุทธกาล]]เป็นที่อยู่ของพวกชาวกาลามโคตรหรือกาลามชน อยู่ในแคว้นโกศล เป็นหมู่บ้านทางผ่านระหว่างเมืองในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าได้เคยเสด็จผ่านมาที่เกสปุตตนิคมและได้ทรงแสดง[[กาลามสูตร]] หรือเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า [[เกสปุตตสูตร]]<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต '''เกสปุตตสูตร''' (กาลามสูตร). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=4930&Z=5092&pagebreak=0]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> แก่กลุ่มคนเหล่านี้จนยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา

== มหาสถูปแห่งเกสเรีย ==
== มหาสถูปแห่งเกสเรีย ==
[[ไฟล์:kesariya.jpg|thumb|500px|left|พระมหาสถูปแห่งเกสริยา]]
[[ไฟล์:kesariya.jpg|thumb|500px|left|พระมหาสถูปแห่งเกสริยา]]


เกสเรีย หรือเกสริยา เดิมไม่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นจุดสำหรับจาริกแสวงบุญของชาวพุทธ แต่หลังจากกองโบราณคดีอินเดียได้ขุดค้นเนินดินใหญ่พบพระมหาสถูปโบราณ มีความสูงประมาณ ๑๔๐ ฟุต ซึ่งทำให้มหาสถูปโบราณที่ค้นพบใหม่นี้กลายเป็นมหาสถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ชเวดากองและพระมหาสถูปบุโรพุทโธ ซึ่งทำให้มีผู้สันนิษฐานว่ามหาสถูปแห่งเกสริยานี้เป็นต้นแบบของมหาสถูปทั้งสอง
เกสเรีย หรือเกสริยา เดิมไม่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นจุดสำหรับจาริกแสวงบุญของชาวพุทธ แต่หลังจากกองโบราณคดีอินเดียได้ขุดค้นเนินดินใหญ่พบพระมหาสถูปโบราณ มีความสูงประมาณ ๑๔๐ ฟุต ซึ่งทำให้มหาสถูปโบราณที่ค้นพบใหม่นี้กลายเป็นมหาสถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ชเวดากองและพระมหาสถูปบุโรพุทโธ ซึ่งทำให้มีผู้สันนิษฐานว่ามหาสถูปแห่งเกสริยานี้เป็นต้นแบบของมหาสถูปทั้งสอง
เกสริยาในปัจจุบันอยู่ห่างจากกุสินาราประมาณ 120 กิโลเมตร ในเขตหมู่บ้านเกสเรีย อำเภอไพสาลี การเดินมามาที่แห่งนี้เป็นไปด้วยความยากลำบาก ทำให้ไม่ค่อยมีผู้แสวงบุญมาสักการะมหาสถูปแห่งนี้เท่าใดนัก
เกสริยาในปัจจุบันอยู่ห่างจากกุสินาราประมาณ 120 กิโลเมตร ในเขตหมู่บ้านเกสเรีย อำเภอไพสาลี ปัจจุบันเดินทางได้สะดวก เพราะทางการสร้างถนนได้มาตรแล้ว และมีระยะทางห่างจากเมืองไพสาลีเพียง ๑ ชั่วโมงครึ่งเท่านั้น ติดต่อที่วัดไทยไพสาลี จะได้ข้อมูลที่ถูกต้อง== อ้างอิง ==

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:07, 9 มีนาคม 2553

{{สถานที่สำคัญในพุทธสถาน เกสริยา (อังกฤษ: Kesariya, เทวนาครี: केसरिया) ในปัจจุบัน เป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดีย แต่ไม่ใช่สถานที่อยู่ของพวกกาลามชนหรือกาลามโคตร หรือเกสปุตนิคมแต่อย่างใด อย่าเข้าใจผิด เพราะว่าเกสเรียปัจจุบันอยู่ในเขตพรมแดนของแคว้นวัชชีและมัลละต่อกัน (รัฐพิหารในปัจจุบัน) ที่บอกว่าเป็นที่อยู่ของพวกชาวกาลามโคตรหรือกาลามชน อยู่ในแคว้นโกศล แคว้นโกศลอยู่ห่างจากนี้ไปไกลมากเป็นข้อมูลที่ผิด (แคว้นโกศล มีเมืองหลวงชื่อสาวัตถี ปัจจุบันอยู่ในขตรัฐอุตรประเทศ)

มหาสถูปแห่งเกสเรีย

พระมหาสถูปแห่งเกสริยา

เกสเรีย หรือเกสริยา เดิมไม่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นจุดสำหรับจาริกแสวงบุญของชาวพุทธ แต่หลังจากกองโบราณคดีอินเดียได้ขุดค้นเนินดินใหญ่พบพระมหาสถูปโบราณ มีความสูงประมาณ ๑๔๐ ฟุต ซึ่งทำให้มหาสถูปโบราณที่ค้นพบใหม่นี้กลายเป็นมหาสถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ชเวดากองและพระมหาสถูปบุโรพุทโธ ซึ่งทำให้มีผู้สันนิษฐานว่ามหาสถูปแห่งเกสริยานี้เป็นต้นแบบของมหาสถูปทั้งสอง เกสริยาในปัจจุบันอยู่ห่างจากกุสินาราประมาณ 120 กิโลเมตร ในเขตหมู่บ้านเกสเรีย อำเภอไพสาลี ปัจจุบันเดินทางได้สะดวก เพราะทางการสร้างถนนได้มาตรแล้ว และมีระยะทางห่างจากเมืองไพสาลีเพียง ๑ ชั่วโมงครึ่งเท่านั้น ติดต่อที่วัดไทยไพสาลี จะได้ข้อมูลที่ถูกต้อง== อ้างอิง ==

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Kesariya, Bihar. Buddhist-Tourism.Com. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52 (อังกฤษ)