ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรีสมัยบารอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


==ลักษณะดนตรีบาโรก==
==ลักษณะดนตรีบาโรก==
ดนตรีในยุคบาโรกเริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีหรือเสียงร้องเล่นประชันกัน เช่น เสียงร้องประชันกับเครื่องดนตรี หรือการเดี่ยวประชันเครื่องดนตรีบ้าง ซึ่งเรียกกันว่า Stile Concertante มีการใช้'''บาสโซคอนตินิวโอ''' (Basso Continuo) คือการที่เสียงเบส (เสียงต่ำ) เคลื่อนที่ตลอดเวลา โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวเลขบอกถึงการเคลื่องที่ไปของเบส รวมถึงเสียงแนวอื่นๆ ด้วย ทำให้เกิดคอร์ดขึ้นมา เครื่องดนตรีที่มช้เล่นบาสโซคอนตินิวโออาจเป็นคีย์บอร์ด เช่น [[ออร์แกน]] [[ฮาร์ปซิคอร์ด]] หรือเป็นกลุ่มของเครื่องดนตรี เช่น [[วิโอลา]] [[เชลโล]] และ[[บาสซูน]]
ในยุคบาโรก เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีหรือเสียงร้องเล่นประชันกัน เช่น เสียงร้องประชันกับเครื่องดนตรี หรือการเดี่ยวประชันเครื่องดนตรีบ้าง ซึ่งเรียกกันว่า Stile Concertante มีการใช้'''บาสโซคอนตินิวโอ''' (Basso Continuo) คือการที่เสียงเบส (เสียงต่ำ) เคลื่อนที่ตลอดเวลา โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวเลขบอกถึงการเคลื่องที่ไปของเบส รวมถึงเสียงแนวอื่นๆ ด้วย ทำให้เกิดคอร์ดขึ้นมา เครื่องดนตรีที่มช้เล่นบาสโซคอนตินิวโออาจเป็นคีย์บอร์ด เช่น [[ออร์แกน]] [[ฮาร์ปซิคอร์ด]] หรือเป็นกลุ่มของเครื่องดนตรี เช่น [[วิโอลา]] [[เชลโล]] และ[[บาสซูน]]


ในยุคนี้เริ่มมีการใช้บันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์แทนโหมด (Mode) รูปพรรณของเพลงเป็นแบบสอดประสานทำนอง ที่เรียกว่า Contrapuntal เริ่มมีการใช้การประสานสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) คือ การเน้นความสำคัญของทำนองหลักโดยมีเสียงอื่นเล่นเสียงประสานคลอประกอบ มีการด้นสด (Improvisation) ของนักดนตรี โดยนักดนตรีจะแต่งเติมบทเพลง เริ่มมีการกำหนดความเร็วจังหวะของเพลง และความหนัก-เบาของเพลงลงในผลงานการประพันธ์ เช่น Adagio Andante และAllegro
มีการใช้บันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์แทนโหมด (Mode) รูปพรรณของเพลงเป็นแบบสอดประสานทำนอง ที่เรียกว่า Contrapuntal เริ่มมีการใช้การประสานสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) คือ การเน้นความสำคัญของทำนองหลักโดยมีเสียงอื่นเล่นเสียงประสานคลอประกอบ มีการด้นสด (Improvisation) ของนักดนตรี โดยนักดนตรีจะแต่งเติมบทเพลง เริ่มมีการกำหนดความเร็วจังหวะของเพลง และความหนัก-เบาของเพลงลงในผลงานการประพันธ์ เช่น Adagio Andante และAllegro


รูปแบบของเพลงบางประเภทมีการพัฒนาจนมีแบบแผนแน่นอน ได้แก่ [[ฟิวก์]] ลักษณะของเพลงร้องที่เกิดในยุคบาโรก ได้แก่ [[โอเปร่า]] [[คันตาตา]] และ[[ออราทอริโอ]] ส่วนลักษณะรูปแบบ (Form) ของเพลงบรรเลงที่เกิดในยุคบาโรก ได้แก่ [[โซนาตา]] [[ดนตรีประชัน|คอนแชร์โต]] และ[[สวีต (ดนตรี)|เพลงชุด]] (Suite) ซึ่งเพลงชุดเป็นการนำเพลงจังหวะเต้นรำที่มีหลายลักษณะมาบรรเลงต่อกันเป็นท่อนๆ เพลงจังหวะเต้นรำแบบต่างๆ ที่มีอยู่ในเพลงชุด ได้แก่ Allemande, Courante, Sarabande, Gavotte, Bourree, Minuet และGigue เป็นต้น
รูปแบบของเพลงบางประเภทมีการพัฒนาจนมีแบบแผนแน่นอน ได้แก่ [[ฟิวก์]] ลักษณะของเพลงร้องของดนตรีบาโรก ได้แก่ [[โอเปร่า]] [[คันตาตา]] และ[[ออราทอริโอ]] ส่วนลักษณะรูปแบบ (Form) ของเพลงบรรเลง ได้แก่ [[โซนาตา]] [[ดนตรีประชัน|คอนแชร์โต]] และ[[สวีต (ดนตรี)|เพลงชุด]] (Suite) ซึ่งเพลงชุดเป็นการนำเพลงจังหวะเต้นรำที่มีหลายลักษณะมาบรรเลงต่อกันเป็นท่อนๆ เพลงจังหวะเต้นรำแบบต่างๆ ที่มีอยู่ในเพลงชุด ได้แก่ Allemande, Courante, Sarabande, Gavotte, Bourree, Minuet และGigue เป็นต้น


เพลงโบสถ์ยังเป็นที่นิยมในการประพันธ์ เพลงที่ประพันธ์กันในยุคนี้ คือ [[เพลงแมส]] [[โมเท็ต]] [[คันตาตา]] [[ออราทอริโอ]] และ[[แพสชั่น]] (Passion) คือเพลงที่บรรยายเกี่ยวกับพระเยซูถูกตรึงกางเขน เป็นต้น
เพลงโบสถ์ยังเป็นที่นิยมในการประพันธ์ เพลงที่ประพันธ์กันในยุคนี้ คือ [[เพลงแมส]] [[โมเท็ต]] [[คันตาตา]] [[ออราทอริโอ]] และ[[แพสชั่น]] (Passion) คือเพลงที่บรรยายเกี่ยวกับพระเยซูถูกตรึงกางเขน เป็นต้น


เครื่องดนตรีในยุคบาโรกเครื่องสายตระกูลวิโอลค่อยๆ ลดความนิบมในการใช้ลง คงหลงเหลืออยู่เพียงการพัฒนาที่กลายมาเป็น[[ดับเบิลเบส]]ในปัจจุบัน [[เครื่องสาย]]ที่เข้ามาแทนที่คือ ตระกูลไวโอลิน ซึ่งประกอบด้วย [[ไวโอลิน]] [[วิโอลา|วิโอล่า]] และ[[เชลโล|เชลโล่]] ออร์แกนได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น และเริ่มมีการพัฒนาเปียโน เครื่องดนตรีเครื่องเป่าที่ใช้ในยุคนี้ คือ [[โอโบ]] [[บาสซูน]] และ[[ฟลูต]] เครื่องดนตรีที่ใช้ในการผสมวงของ[[วงออร์เคสตรา]]ยังไม่มีการกำหนดเป็นที่แน่นอน
เครื่องดนตรีของดนตรีแนวนี้ คือการใช้เครื่องสายตระกูลวิโอลค่อยๆ ลดความนิบมในการใช้ลง คงหลงเหลืออยู่เพียงการพัฒนาที่กลายมาเป็น[[ดับเบิลเบส]]ในปัจจุบัน [[เครื่องสาย]]ที่เข้ามาแทนที่คือ ตระกูลไวโอลิน ซึ่งประกอบด้วย [[ไวโอลิน]] [[วิโอลา|วิโอล่า]] และ[[เชลโล|เชลโล่]] ออร์แกนได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น และเริ่มมีการพัฒนาเปียโน เครื่องดนตรีเครื่องเป่าที่ใช้ในยุคนี้ คือ [[โอโบ]] [[บาสซูน]] และ[[ฟลูต]] เครื่องดนตรีที่ใช้ในการผสมวงของ[[วงออร์เคสตรา]]ยังไม่มีการกำหนดเป็นที่แน่นอน


ในยุคบาโรกการบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนาจนเป็นลักษณะการบันทึกโน้ตที่ใช้กันในปัจจุบัน คือ การใช้[[บรรทัดห้าเส้น]] การใช้[[กุญแจประจำหลัก|กุญแจโซ]] (G Clef) [[กุญแจประจำหลัก|กุญแจฟา]] (F Clef) [[กุญแจประจำหลัก|กุญแจอัลโต]] และ[[กุญแจประจำหลัก|กุญแจเทเนอร์]](C Clef) มีการใช้ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนค่าความยาวโน้ต และตำแหน่งของตัวโน้ตบนบรรทัดห้าเส้นแทนระดับเสียง และยังมีตัวเลขบอก[[อัตราจังหวะ]] มี[[เส้นกั้นห้อง]] และสัญลักษณ์อื่นๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี
การบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนาจนเป็นลักษณะการบันทึกโน้ตที่ใช้กันในปัจจุบัน คือ การใช้[[บรรทัดห้าเส้น]] การใช้[[กุญแจประจำหลัก|กุญแจโซ]] (G Clef) [[กุญแจประจำหลัก|กุญแจฟา]] (F Clef) [[กุญแจประจำหลัก|กุญแจอัลโต]] และ[[กุญแจประจำหลัก|กุญแจเทเนอร์]](C Clef) มีการใช้ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนค่าความยาวโน้ต และตำแหน่งของตัวโน้ตบนบรรทัดห้าเส้นแทนระดับเสียง และยังมีตัวเลขบอก[[อัตราจังหวะ]] มี[[เส้นกั้นห้อง]] และสัญลักษณ์อื่นๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี


==คีตกวีดนตรีบาโรก==
==คีตกวีดนตรีบาโรก==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:30, 9 มีนาคม 2553

ดนตรีบาโรก (อังกฤษ: Baroque music) เป็นแนวเพลง ดนตรียุโรปคลาสสิก ราว ค.ศ. 1600-1750[1] เกิดขึ้นหลังดนตรีเรอเนสซองซ์ และเกิดก่อนดนตรียุคคลาสสิก มีคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคคือ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค , อันโตนีโอ วีวัลดี, ฌอง-แบ๊ปติสต์ ลุลลี่, จอร์จ เฟรดริก ฮันเดล, อาร์คันเจโล คอเรลลี, คลอดิโอ มอนเทแวร์ดี, ฌอง ฟิลลิป ราโม, เฮนรี เพอร์เซล ในยุคนี้ผู้ประพันธ์เพลงและผู้แสดงจะใช้องค์ประกอบทางดา้นดนตรีที่ซับซ้อนมากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องระบบเสียงและได้พัฒนาการเล่นเครื่องดนตรีแบบใหม่ ดนตรีบาโรกได้ขยับขยายขนาด ความกว้าง ความซับซ้อนของการแสดงเครื่องดนตรี

ลักษณะดนตรีบาโรก

ในยุคบาโรก เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีหรือเสียงร้องเล่นประชันกัน เช่น เสียงร้องประชันกับเครื่องดนตรี หรือการเดี่ยวประชันเครื่องดนตรีบ้าง ซึ่งเรียกกันว่า Stile Concertante มีการใช้บาสโซคอนตินิวโอ (Basso Continuo) คือการที่เสียงเบส (เสียงต่ำ) เคลื่อนที่ตลอดเวลา โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวเลขบอกถึงการเคลื่องที่ไปของเบส รวมถึงเสียงแนวอื่นๆ ด้วย ทำให้เกิดคอร์ดขึ้นมา เครื่องดนตรีที่มช้เล่นบาสโซคอนตินิวโออาจเป็นคีย์บอร์ด เช่น ออร์แกน ฮาร์ปซิคอร์ด หรือเป็นกลุ่มของเครื่องดนตรี เช่น วิโอลา เชลโล และบาสซูน

มีการใช้บันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์แทนโหมด (Mode) รูปพรรณของเพลงเป็นแบบสอดประสานทำนอง ที่เรียกว่า Contrapuntal เริ่มมีการใช้การประสานสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) คือ การเน้นความสำคัญของทำนองหลักโดยมีเสียงอื่นเล่นเสียงประสานคลอประกอบ มีการด้นสด (Improvisation) ของนักดนตรี โดยนักดนตรีจะแต่งเติมบทเพลง เริ่มมีการกำหนดความเร็วจังหวะของเพลง และความหนัก-เบาของเพลงลงในผลงานการประพันธ์ เช่น Adagio Andante และAllegro

รูปแบบของเพลงบางประเภทมีการพัฒนาจนมีแบบแผนแน่นอน ได้แก่ ฟิวก์ ลักษณะของเพลงร้องของดนตรีบาโรก ได้แก่ โอเปร่า คันตาตา และออราทอริโอ ส่วนลักษณะรูปแบบ (Form) ของเพลงบรรเลง ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต และเพลงชุด (Suite) ซึ่งเพลงชุดเป็นการนำเพลงจังหวะเต้นรำที่มีหลายลักษณะมาบรรเลงต่อกันเป็นท่อนๆ เพลงจังหวะเต้นรำแบบต่างๆ ที่มีอยู่ในเพลงชุด ได้แก่ Allemande, Courante, Sarabande, Gavotte, Bourree, Minuet และGigue เป็นต้น

เพลงโบสถ์ยังเป็นที่นิยมในการประพันธ์ เพลงที่ประพันธ์กันในยุคนี้ คือ เพลงแมส โมเท็ต คันตาตา ออราทอริโอ และแพสชั่น (Passion) คือเพลงที่บรรยายเกี่ยวกับพระเยซูถูกตรึงกางเขน เป็นต้น

เครื่องดนตรีของดนตรีแนวนี้ คือการใช้เครื่องสายตระกูลวิโอลค่อยๆ ลดความนิบมในการใช้ลง คงหลงเหลืออยู่เพียงการพัฒนาที่กลายมาเป็นดับเบิลเบสในปัจจุบัน เครื่องสายที่เข้ามาแทนที่คือ ตระกูลไวโอลิน ซึ่งประกอบด้วย ไวโอลิน วิโอล่า และเชลโล่ ออร์แกนได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น และเริ่มมีการพัฒนาเปียโน เครื่องดนตรีเครื่องเป่าที่ใช้ในยุคนี้ คือ โอโบ บาสซูน และฟลูต เครื่องดนตรีที่ใช้ในการผสมวงของวงออร์เคสตรายังไม่มีการกำหนดเป็นที่แน่นอน

การบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนาจนเป็นลักษณะการบันทึกโน้ตที่ใช้กันในปัจจุบัน คือ การใช้บรรทัดห้าเส้น การใช้กุญแจโซ (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์(C Clef) มีการใช้ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนค่าความยาวโน้ต และตำแหน่งของตัวโน้ตบนบรรทัดห้าเส้นแทนระดับเสียง และยังมีตัวเลขบอกอัตราจังหวะ มีเส้นกั้นห้อง และสัญลักษณ์อื่นๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี

คีตกวีดนตรีบาโรก

อ้างอิง

  1. Palisca, Grove online
  • Palisca, Claude. "Baroque", Grove Music Online, ed. L. Macy (Accessed August 21, 2007), (subscription access)
  • คมสันต์ วงค์วรรณ์. ดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551
  • ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548