ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรีสมัยโรแมนติก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Greannoreftag (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ยุคโรแมนติก''' (ค.ศ.1810-1910) เป็นดนตรีในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม
'''ยุคโรแมนติก''' (ค.ศ.1810-1910) เป็นดนตรีในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม


คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี ค.ศ.1810 ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ [[ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน|ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน]] (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับ[[วงออร์เคสตรา]]
คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี [[ค.ศ.1810]] ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ [[ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน|ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน]] (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับ[[วงออร์เคสตรา]]


==ลักษณะดนตรียุคโรแมนติก==
==ลักษณะดนตรียุคโรแมนติก==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:06, 9 มีนาคม 2553

ยุคโรแมนติก (ค.ศ.1810-1910) เป็นดนตรีในช่วงศตวรรษที่19 ซึ่งเน้นอารมณ์ของดนตรีมากกว่าความสมดุลของบทตอน และเน้นความเป็นตัวตนของคีตกวีมากกว่ากฎเกณฑ์ทางดนตรีที่มีมาแต่เดิม

คำว่า "โรแมนติก" ถูกประยุกต์ใช้ในวงการดนตรีปี ค.ศ.1810 ซึ่งเอามาจากวงการวรรณกรรม มีความหมายว่า อารมณ์ที่รุนแรงของมนุษย์ โดยลักษณะดนตรีแบบโรแมนติกนี้เริ่มขึ้นในงานของนักประพันธ์เพลงและนักดนตรีชื่อ ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน (Ludwig van Beethoven) ดนตรียุคโรแมนติกนั้นเริ่มต้นด้วยเพลงขับร้องและเพลงเปียโนสั้นๆ ต่อมาเป็นเพลงสำหรับวงออร์เคสตรา

ลักษณะดนตรียุคโรแมนติก

ดนตรียุคโรแมนติกมีลักษณะของแนวทำนองที่เต็มไปด้วยการบรรยายความรู้สึก มีแนวทำนองเด่นชัด ลักษณะการแบ่งวรรคตอนเพลงไม่ตายตัว การประสานเสียงได้พัฒนาต่อจากยุคคลาสสิกทำให้เกิดการคิดคอร์ดใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เพื่อใช้แสดงออกถึงอารมณ์และความรู้สึก มีการนำคอร์ดที่เสียงไม่กลมกลืนมาใช้มากขึ้น มีการใช้โน้ตนอกคอร์ด บันไดเสียงที่มีโน้ตครึ่งเสียง (Chromatic Scale) การเปลี่ยนบันไดเสียงหนึ่งไปอีกบันไดเสียงหนึ่งอย่างคาดไม่ถึง การประสานเสียงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) ยังคงเป็นลักษณะเด่นสืบเนื่องมาจากยุคคลาสสิก การใช้เสียงดัง-เบา มีตั้งแต่ ppp ไปจนถึง fff คีตลักษณ์ของเพลง (form) ยังคงเป็นแบบ Sonata Form แบบยุคคลาสสิก แต่มีความยืดหยุ่นของโครงสร้าง

ในยุคนี้ดนตรีบรรเลง และบทเพลงสำหรับเปียโน เป็นที่นิยมประพันธ์กันมากขึ้น ลักษณะของวงออร์เคสตราจะมีขนาดใหญ่ขึ้นตามแต่ผู้ประพันธ์เพลงจะกำหนด เพลงคฤหัสถ์หรือเพลงสำหรับชาวบ้านเป็นที่นิยมประพันธ์กัน แต่เพลงโบสถ์ก็ยังคงมีการประพันธ์อยู่เช่นกัน ในลักษณะของเพลงแมส ที่ใช้เพื่อประกอบศาสนพิธี และเพลงเรควีเอ็ม ที่ใช้ในพิธีศพ สำหรับบทเพลงโอเปร่า และเพลงร้องก็มีพัฒนาการควบคู่ไป เนื้อร้องมีตั้งแต่การล้อการเมือง ความรักกระจุ๋มกระจิ๋ม ไปจนถึงเรื่องโศกนาฎกรรม

นักดนตรีโรแมนติก

บทประพันธ์ที่สำคัญในยุคโรแมนติก

Symphony No. 3 (Eroica) - เบโธเฟน

Symphony No. 6 (Pastoral) - เบโธเฟน

Symphony No. 9 (Choral) - เบโธเฟน

Symphony No. 8, in B minor (Unfinished) - ชูเบิร์ต

Symphony No. 4 (Italian) - เมนเดลโซห์น

Symphony No. 3 (Rhenish) - ชูมันน์

Symphony No. 1-4 - บราห์มส์

Symphony No. 6 (Pathetique) - ไชคอฟสกี้

Symphony No. 9 (From the New World) - ดโวชาค

Piano Concerto No.5 (Emperor) - เบโธเฟน

Piano Concerto in B-flat minor - ไชคอฟสกี้

Piano Concerto in A minor Op.16 - กรีก

Piano Concerto No.2 - ราคมานินอฟ

Violin Concerto in D, Op.61 - เบโธเฟน

Violin Concerto in E minor, Op.64 - เมนเดลโซห์น

Violin Concerto in D major, Op.77 - บราห์มส์

Violin Concerto in D major, Op.35 - ไชคอฟสกี้

Carmen - บิเซต์

Aida - แวร์ดี

La Traviata - แวร์ดี

Madama Butterfly - ปุชชีนี (Puccini)

Tristan and Isolde - วากเนอร์

William Tell - รอสชินี

    • 3.2 Comic Opera

The Barber of Seville - รอสชินี

The Barthered Bride - รอสซินี

The Doctor Despite Himself - กูโนด์

Habrides Overture - เมนเดลโซห์น

Overture1812 - ไชคอฟสกี้

Romeo and Juliet - ไชคอฟสกี้

    • 4.2 Incidental Music

A Midsummer Night's Dream - เมนเดลโซห์น

The Planets - โฮลสต์

Peer Gynt - กรีก

Scheherazade - ริมสกี-คอร์สคอฟ

The Carnival of the Animals - แซงต์-ซองส์

    • 4.3 Program Symphony

Dante - ลิซท์

Faust - ลิซท์

Harold in Italy - แบร์ลิออส

Romeo and Juliet - แบร์ลิออส

Symphony Fantastique - แบร์ลิออส

    • 4.4 Tone Poem (Symphonic Poem)

Don Juan - สเตราส์

Don Quixote - สเตราส์

Finlandia - ซิบิเลียส

The Moldau - สเมนตานา

Borelo - ราเวล

Cinderella Ballet - โปรโกเฟียฟ

Romeo and Juliette - โปรโกเฟียฟ

The Sleeping Beauty - ไชคอฟสกี้

Swanlake - ไชคอฟสกี้

Piano Quintet in A Major, Op.114 - ชูเบิร์ต

String Quintet in C D.956 (2 violins, viola, 2 cellos) - ชูเบิร์ต

String Sextet in Bb Op.18 (Spring) - บราห์มส์

Piano Sonata in C minor (Pathetique) - เบโธเฟน

Piano Sonata in Bb minor - โชแปง

Violin Sonata Op.47 (Kreutzer) - โชแปง

  • 8.ประเภทอื่นๆ
    • 8.1 บทเพลงร้องและเพลงสำหรับเปียโน

Erikonig - ชูเบิร์ต

Nocturne in Eb Major Op.9 No.2 - โชแปง

Etudes Op.10 - โชแปง

    • 8.2 บทเพลงแมส

Missa Solemnis - เบโธเฟน

Requiem - แบร์ลิออส

Requiem - แวร์ดี

German Requiem - บราห์มส์

อ้างอิง

  • คมสันต์ วงค์วรรณ์. ดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551
  • ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548