ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลมาอิรวดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''โลมาอิรวดี''' หรือ '''โลมาหัวบาตร''' ({{lang-en|Irrawaddy Dolphin หรือ Ayeyarwaddy Dolphin}}) เป็น[[โลมา]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Orcaella brevirostris'' อยู่ใน[[วงศ์โลมา]] (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180 - 275 ซ.ม. น้ำหนักไม่มีรายงาน
'''โลมาอิรวดี''' หรือ '''โลมาหัวบาตร''' ({{lang-en|Irrawaddy Dolphin หรือ Ayeyarwaddy Dolphin}}) เป็น[[โลมา]]ชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Orcaella brevirostris'' อยู่ใน[[วงศ์โลมา]] (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180 - 275 ซ.ม. น้ำหนักไม่มีรายงาน


มีการกระจายอย่างกว้างขวางใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]], [[อ่าวไทย]] มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่ง[[น้ำกร่อย]]และ[[ทะเลสาบ]]หรือ[[น้ำจืด]] เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิระวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น [[แม่น้ำโขง]] และ[[ทะเลสาบเขมร]] ในปี [[พ.ศ. 2459]] มีรายงานว่าพบอยู่ใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้วย
มีการกระจายอย่างกว้างขวางใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]], [[อ่าวไทย]] มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่ง[[น้ำกร่อย]]และ[[ทะเลสาบ]]หรือ[[น้ำจืด]] เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น [[แม่น้ำโขง]] และ[[ทะเลสาบเขมร]] ในปี [[พ.ศ. 2459]] มีรายงานว่าพบอยู่ใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้วย


ถูกค้นพบครั้งแรกที่[[แม่น้ำอิระวดี]]ใน[[ประเทศพม่า]] จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันใน[[น้ำจืด]] สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ [[ทะเลสาบชิลิก้า]] [[ประเทศอินเดีย]], แม่น้ำโขง, [[ทะเลสาบสงขลา]], [[แม่น้ำมะหะขาม]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] และปาก[[แม่น้ำบางปะกง]]
ถูกค้นพบครั้งแรกที่[[แม่น้ำอิรวดี]]ใน[[ประเทศพม่า]] จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันใน[[น้ำจืด]] สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ [[ทะเลสาบชิลิก้า]] [[ประเทศอินเดีย]], แม่น้ำโขง, [[ทะเลสาบสงขลา]], [[แม่น้ำมะหะขาม]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] และปาก[[แม่น้ำบางปะกง]]


มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-150 [[วินาที]] แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 [[เดือน]] ลูกที่เกิดมามีขนาด 40 [[เปอร์เซนต์|%]] ของตัวโตเต็มวัย อาหาร
มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-150 [[วินาที]] แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 [[เดือน]] ลูกที่เกิดมามีขนาด 40 [[เปอร์เซนต์|%]] ของตัวโตเต็มวัย อาหาร
ได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพปัจจุบันใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) จัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของ[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์|ไซเตส]] (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์ สำหรับ[[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (IUCN) ได้จัดให้โลมาอิรวดีขึ้น[[บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ |บัญชีแดง]] โดยจัดให้อยู่ในสถานะสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ (CR - Critically endangered)
ได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพปัจจุบันใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) จัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของ[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์|ไซเตส]] (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์ สำหรับ[[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (IUCN) ได้จัดให้โลมาอิรวดีขึ้น[[บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ |บัญชีแดง]] โดยจัดให้อยู่ในสถานะสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ (CR - Critically endangered)


โลมาอิระวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ใน[[ภาษาใต้]] และ "ปลาข่า" ใน[[ภาษาลาว]] เป็นต้น
โลมาอิรวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ใน[[ภาษาใต้]] และ "ปลาข่า" ใน[[ภาษาลาว]] เป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:50, 6 มีนาคม 2553

โลมาอิรวดี
ไฟล์:Orcaella brevirostrisx.jpg
ขนาดเมื่อเทียบกับมนุษย์
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: สัตว์ (Animalia)
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง (Chordata)
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammalia)
อันดับ: วาฬและโลมา (Cetacea)
วงศ์: โลมา (Delphinidae)
สกุล: Orcaella
สปีชีส์: O.  brevirostris
ชื่อทวินาม
Orcaella brevirostris
Gray, ค.ศ. 1866
ไฟล์:Orcaella brevirostris smx.jpg
แผนที่การกระจายพันธุ์ของโลมาอิระวดี

โลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตร (อังกฤษ: Irrawaddy Dolphin หรือ Ayeyarwaddy Dolphin) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Orcaella brevirostris อยู่ในวงศ์โลมา (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180 - 275 ซ.ม. น้ำหนักไม่มีรายงาน

มีการกระจายอย่างกว้างขวางในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยและทะเลสาบหรือน้ำจืด เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น แม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมร ในปี พ.ศ. 2459 มีรายงานว่าพบอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยาด้วย

ถูกค้นพบครั้งแรกที่แม่น้ำอิรวดีในประเทศพม่า จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันในน้ำจืด สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ ทะเลสาบชิลิก้า ประเทศอินเดีย, แม่น้ำโขง, ทะเลสาบสงขลา, แม่น้ำมะหะขาม ประเทศอินโดนีเซีย และปากแม่น้ำบางปะกง

มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-150 วินาที แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 เดือน ลูกที่เกิดมามีขนาด 40 % ของตัวโตเต็มวัย อาหาร ได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพปัจจุบันใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) จัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของไซเตส (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์ สำหรับสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ได้จัดให้โลมาอิรวดีขึ้นบัญชีแดง โดยจัดให้อยู่ในสถานะสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ (CR - Critically endangered)

โลมาอิรวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ในภาษาใต้ และ "ปลาข่า" ในภาษาลาว เป็นต้น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น