ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องหมาย (มุทราศาสตร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Càrrega (heràldica)
บรรทัด 37: บรรทัด 37:


[[ar:حمولة (شعار الدولة)]]
[[ar:حمولة (شعار الدولة)]]
[[ca:Càrrega (heràldica)]]
[[cs:Obecné figury]]
[[cs:Obecné figury]]
[[en:Charge (heraldry)]]
[[en:Charge (heraldry)]]
บรรทัด 42: บรรทัด 43:
[[fr:Charge (héraldique)]]
[[fr:Charge (héraldique)]]
[[he:מטען (הרלדיקה)]]
[[he:מטען (הרלדיקה)]]
[[lt:Mobiliosios figūros (heraldika)]]
[[ja:チャージ (紋章学)]]
[[ja:チャージ (紋章学)]]
[[lt:Mobiliosios figūros (heraldika)]]
[[pt:Figuras do escudo (heráldica)]]
[[pt:Figuras do escudo (heráldica)]]
[[sv:Sköldemärke]]
[[sv:Sköldemärke]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:10, 4 มีนาคม 2553

เครื่องหมาย (อังกฤษ: Charge) ในมุทราศาสตร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของตราอาร์มที่เป็นเครื่องหมายที่อาจจะเป็นตราสัญลักษณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นตราของโล่ภายในตรา ซึ่งอาจจะเป็นลายเรขาคณิต (บางครั้งเรียกว่า “แถบ”) หรือสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์สำหรับของบุคคล สัตว์ สิ่งของ หรือ สิ่งอื่นๆ ในนิยามของตราของฝรั่งเศสแถบเรียกว่า “pièces” และเครื่องหมายอื่นๆ เรียกว่า “mobile” ซึ่งเป็นคำคำพ้องรูปพ้องเสียง (homonym) กับคำว่า “meuble” ในภาษาฝรั่งเศสปัจจุบันที่แปลว่าเครื่องเรือน

การแบ่งเครื่องหมายออกเป็น “แถบ” หรือ “แถบย่อย” และกลุ่มอื่นๆ เป็นระเบียบใหม่ที่เป็นที่คัดค้านโดยนักเขียนเกี่ยวกับมุทราศาสตร์หลายคนที่รวมทั้งฟ็อกซ์-เดวิส[1] ความสำคัญและความหมายของเครื่องหมายจะได้รับการระบุในนิยามของตรา

คำว่า “charge” (“เครื่องหมาย”) อาจจะใช้เป็นคำกิริยา เช่นถ้าโล่มีสิงห์โตสามตัวก็จะนิยามว่า charged with three lions (เครื่องหมายด้วยสิงห์สามตัว) หรือ เครื่องยอดหรือตัว “เครื่องหมาย” เองก็อาจจะเป็น “เครื่องหมาย” ได้ เช่นเป็นปีกเหยี่ยวคู่ charged with trefoils (เป็นเครื่องหมายจิกสามแฉก) (เช่นตราแผ่นดินของบรานเดนบวร์ก) สิ่งสำคัญคือการแสดงความแตกต่างระหว่าง “แถบ” (ordinaries) กับ “ช่องตรา” (divisions of the field) เพราะเครื่องหมายทั้งสองอย่างนี้ใช้วิธีนิยามเดียวกัน เช่นโล่ divided "per chevron" (ช่องแบ่งด้วยแถบเชฟรอน) ที่ต่างจาก charged with chevron (เป็นเครื่องหมายเชฟรอน)

สิ่งต่างที่ใช้เป็นเครื่องหมายมาจากธรรมชาติ ตำนาน หรือเทคโนโลยี สิ่งต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องหมายก็ได้แก่กางเขนที่เป็นเครื่องหมายของคริสต์ศาสนา เหยี่ยว สิงห์โต หรือ สิ่งก่อสร้าง


อ้างอิง

  1. See "CHAPTER IX: THE SO-CALLED ORDINARIES AND SUB-ORDINARIES" in Fox-Davies (1909) A Complete Guide to Heraldry.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เครื่องหมายในตรา วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สัตว์ที่ใช้ในตรา วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ที่ใช้ในตรา