ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล อาวุธ
{{รอการตรวจสอบ}}
|name= เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์
[[ภาพ:AIM-9 Sidewinder.jpg|จรวดไซด์ไวน์เดอร์ที่กำลังจะติดตั้งกับเครื่อง[[เอฟ/เอ-18|เอฟ-18]]|thumb|300px|right]]
|ภาพ=[[File:N-0507F-003.jpg|300px]]
'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' ({{lang-en|''AIM-9 Sidewinder''}}) เป็น[[ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ]]ติดตามความร้อนพิสัยใกล้ซึ่งใช้โดย[[เครื่องบินขับไล่]]และล่าสุดยังใช้โดย[[เฮลิคอปเตอร์โจมตี]] มันถูกตั้งชื่อตามงูไซด์ไวน์เดอร์ซึ่งหาเหยื่อของมันผ่านทางความร้อนของร่างกายและยังเพราะว่าขีปนาวุธมีเส้นทางการเคลื่อนที่คล้ายงูเลื้อย ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงแบบแรก มักถูกใช้และลอกเลียนแบบอย่างกว้างขวาง ถึงกระนั้นแบบต่างๆ และการพัฒนาของมันยังคงอยู่ในประจำการในหลายกองทัพอากาศหลังจากที่มันทำงานมากว่าห้าทศวรรษ เมื่อไซด์ไวน์เดอร์เริ่มถูกใช้ นักบินของ[[นาโต้]]ใช้รหัสเรียกมันว่า"ฟ็อกซ์ ทู" (''Fox two'') ทางวิทยุสื่อสาร เช่นเดียวกับขีปนาวุธติดตามความร้อนแบบอื่นๆ
|สัญชาติ= {{flagcountry|สหรัฐอเมริกา}}
|role=ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้
|manufacturer=[[แนมโม]]<br>[[เรย์ธีออน]]<br>[[ฟอร์ด แอโรสเปซ]]<br>[[โลรัล คอร์เปอเรชั่น]]
|cost= 85,000 ดอลลาร์สหรัฐ
|service= พ.ศ. 2599-ปัจจุบัน (เอไอเอ็ม-9บี)
|engine=[[จรวดเชื้อเพลิงแข็ง]]
|weight= 91 กิโลกรัม
|length= 2.85 กิโลกรัม
|diameter= 127 ม.ม.
|wing_span= 630 ม.ม.
|speed= 2.5 มัก
|พิสัยปฏิบัติการ= 1-18 กิโลกรัม
|วัตถุระเบิด= ระเบิดสะเก็ดวงแหวน 9.4 กิโลกรัม
|guidance= อินฟราเรด
|detonation= พลังแม่เหล็ก (แบบเก่า)<br>อินฟราเรดปฏิบัติ (เอไอเอ็ม-9แอลเป็นต้นไป)
|launch_platform=อากาศยานและเฮลิคอปเตอร์
}}


'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' ({{lang-en|''AIM-9 Sidewinder''}}) เป็น[[ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ]]พิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับ[[เครื่องบินขับไล่]]และ[[เฮลิคอปเตอร์โจมตี]] แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบิน[[นาโต้]]ใช้รหัสเรียกมันว่า'''ฟ็อกซ์ ทู''' (''Fox Two'') ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน
ไซด์ไวน์เดอร์ประมาณ 110,000 ลูกได้ถูกสร้างขึ้นมาซึ่งอาจมีเพียงหนึ่งเปอร์เซ็นท์เท่านั้นที่ใช้ไปในการต่อสู้ ส่งผลให้มีการสังหารไป 250-300 ทั่วโลก ขีปนาวุธนั้นถูกออกแบบมาอย่างง่ายดาย<ref>[http://www.strategypage.com/htmw/htairw/articles/20080223.aspx Air Weapons: Beyond Sidewinder<!-- Bot generated title -->]</ref>

ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก<ref>{{cite web|url=http://www.designation-systems.net/dusrm/m-9.html|title=Raytheon AIM-9 Sidewinder|publisher=www.designation-systems.net|accessdate=2 February 2010}}</ref>

มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย<ref>{{cite web|url=http://www.strategypage.com/htmw/htairw/articles/20080223.aspx|title=Air Weapons: Beyond Sidewinder|publisher=www.strategypage.com|accessdate=2 February 2010}}</ref> กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปีพ.ศ. 2545

ไซด์ไวน์เดอร์ (''sidewinder'') มาจากชื่อของ[[งูหางกระดิ่ง]] ซึ่งใช้อินฟราเรดในการหาความร้อนจากตัวเหยื่อ


==หลักฟิสิกส์ในการใช้อินฟราเรด==
==หลักฟิสิกส์ในการใช้อินฟราเรด==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:28, 25 กุมภาพันธ์ 2553

เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์
บทบาท
ประจำการพ.ศ. 2599-ปัจจุบัน (เอไอเอ็ม-9บี)
ประวัติการผลิต
บริษัทผู้ผลิตแนมโม
เรย์ธีออน
ฟอร์ด แอโรสเปซ
โลรัล คอร์เปอเรชั่น
ข้อมูลจำเพาะ
มวล91 กิโลกรัม
ความยาว2.85 กิโลกรัม
เส้นผ่าศูนย์กลาง127 ม.ม.

เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (อังกฤษ: AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (Fox Two) ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน

ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก[1]

มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย[2] กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปีพ.ศ. 2545

ไซด์ไวน์เดอร์ (sidewinder) มาจากชื่อของงูหางกระดิ่ง ซึ่งใช้อินฟราเรดในการหาความร้อนจากตัวเหยื่อ

หลักฟิสิกส์ในการใช้อินฟราเรด

ในทศวรรษที่ 1920 มีการค้นพบว่าการเผยสารประกอบตัวนำกำมะถันให้กับอินฟราเรดจะลดการต้านทานไฟฟ้าของการผสมสาร สิ่งนี้เป็นตัวอย่างของสิ่งที่เรียกว่า"โฟโตคอนดักทิวิตี้" (อังกฤษ: photoconductivity) สิ่งนี้ยังสามารถเปล่งแสงได้โดยคลื่นความยาวของแสง[3] สิ่งดังกล่าวสามารถวัดขนาดผลในปัจจุบันและจากนั้นก็ส่งต่อผลดังกล่าวเพื่อเกิดการกระทำ—ในกรณีนี้ หัวที่หาเป้าจะส่งผลให้ขีปนาวุธเพื่อบินตรงไปที่แหล่งความร้อน

ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง กองกำลังส่วนใหญ่พยายามที่จะสร้างระบบมองกลางคืนโดยใช้เครื่องตรวจจับตัวนำกำมะถันและจอมองเพิ่มความเข้มข้น ส่วนใหญ่สำหรับการตรวจจับเครื่องบินในระยะไกล แต่ก็ไม่มีการพิสูจน์ใดๆ ที่พบว่าประสบผลสำเร็จและมีเพียงระบบสแปนเนอร์ (Spanner) ของเยอรมันเท่านั้นที่เข้าสู่การผลิต สแปนเนอร์ใช้ท่อมองขนาดยาวฉายผ่านจอของเครื่องบินเพื่อให้นักบินมองเห็นสิ่งที่อยู่ข้างหน้าได้อย่างชัดเจนแต่มันก็มีพิสัยที่จำกัด โครงการทั้งหมดนี้จบลงด้วยการใช้เรดาร์ทางอากาศ

เครื่องตรวจจับอินฟราเรดถูกใช้อย่างกว้างขวางบนฐานภาคพื้นดิน สิ่งเหล่านี้ยังรวมทั้งทุกสิ่งจากระบบมองเห็นสำหรับรถถังและแม้แต่พลซุ่มยิง เพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ในตอนกลางคืน อย่างไรก็ตามเยอรมนียังได้ทำการทดลองระบบนำวิถีขีปนาวุธอัตโนมัติโดยตั้งใจที่จะนำไปหาความร้อนจากเครื่องยนต์เครื่องบิน มันใช้เครื่องตรวจจับเพียงเครื่องเดียวตรงกล้องมองขนาดเล็ก พร้อมกังหันสี่ตำแหน่งระหว่างเครื่องตรวจจับและกล้องโทรทรรศน์ กล้งอโทรทรรศน์จะส่งผลให้สัญญาณตกลงบนเครื่องตรวจจับเพื่อเพิ่มและลดโดยขึ้นอยู่กับว่าสัญญาณถูกกั้นจากกังหันมากแค่ไหน จากนั้นสัญญาณนี้จะถูกใช้เป็นเสมือนนักบินอัตโนมัติ โดยจากนั้นจะเริ่มหันไปที่แกนของกล้องโทรทรรศน์ ขีปนาวุธถูกนำวิถีไปที่เป้าหมายโดยใช้สิ่งที่เรียกว่าการไล่ตาม (pure pursuit) การพัฒนาไม่สิ้นสุดจนกระทั่งสงครามจบลง

ข้อมูลทั่วไป

  • ประเภท AIR TO AIR MISSILE
  • ผู้ผลิต LOCKHEED MARTIN USA.
  • ปีผลิต 1956
  • ระยะยิง 10-18 MILE (depending on altitude)
  • ความเร็ว SUPERSONIC MACH 2.5
  • ดินขับ SOLID STATE
  • หัวรบ 20.8-25 LBS. BLAST FRAGMENTATION
  • ระบบนำวิถี INFRARED HOMIMG SYSTEM

อ้างอิง

  1. "Raytheon AIM-9 Sidewinder". www.designation-systems.net. สืบค้นเมื่อ 2 February 2010.
  2. "Air Weapons: Beyond Sidewinder". www.strategypage.com. สืบค้นเมื่อ 2 February 2010.
  3. Encyclopedia Britannica