ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งเซลล์ตับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล โรค | Name = มะเร็งเซลล์ตับ<br><small>(Hepatocellular carcinoma)</small> | Image =...
 
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค |
{{กล่องข้อมูล โรค
Name = มะเร็งเซลล์ตับ<br><small>(Hepatocellular carcinoma)</small> |
| Name = มะเร็งเซลล์ตับ<br><small> (Hepatocellular carcinoma) </small>
Image = hepatocellular carcinoma 1.jpg |
| Image = hepatocellular carcinoma 1.jpg
Caption = ชิ้นเนื้อจากการผ่าชันสูตรศพแสดงให้เห็นก้อนมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อตับอักเสบซี|
| Caption = ชิ้นเนื้อจากการผ่าชันสูตรศพแสดงให้เห็นก้อนมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อตับอักเสบซี
ICD10 = {{ICD10|C|22|0|C|22}} |
| ICD10 = {{ICD10|C|22|0|C|22}}
ICD9 = {{ICD9|155}} |
| ICD9 = {{ICD9|155}}
ICDO = {{ICDO|8170|3}} |
| ICDO = {{ICDO|8170|3}}
MedlinePlus = 000280 |
| MedlinePlus = 000280
eMedicineSubj = med |
| eMedicineSubj = med
eMedicineTopic = 787 |
| eMedicineTopic = 787
MeshID = D006528 |
| MeshID = D006528
}}
}}
'''มะเร็งเซลล์ตับ''' ({{lang-en|hepatocellular carcinoma - HCC}}) เป็น[[มะเร็ง]]ที่กำเนิดขึ้นใน[[ตับ]] มะเร็งเซลล์ตับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 จากการเสียชีวิตจากมะเร็งทุกชนิดทั่วโลก โดยมีผู้ป่วยอยู่กว่า 500,000 คน อุบัติการณ์ของมะเร็งเซลล์ตับพบมากใน[[เอเชีย]]และ[[แอฟริกา]]ซึ่งมีการระบาดของ[[โรคตับอักเสบจากไวรัส]]ตับอักเสบ[[ไวรัสตับอักเสบบี|บี]]และ[[ไวรัสตับอักเสบซี|ซี]]อยู่มาก โรคตับอักเสบจากไวรัสนี้มีส่วนอย่างมากในการทำให้เกิดโรคตับเรื้อรังและนำไปสู่มะเร็งเซลล์ตับในที่สุด
'''มะเร็งเซลล์ตับ''' ({{lang-en|hepatocellular carcinoma - HCC}}) เป็น[[มะเร็ง]]ที่กำเนิดขึ้นใน[[ตับ]] มะเร็งเซลล์ตับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 จากการเสียชีวิตจากมะเร็งทุกชนิดทั่วโลก โดยมีผู้ป่วยอยู่กว่า 500,000 คน อุบัติการณ์ของมะเร็งเซลล์ตับพบมากใน[[เอเชีย]]และ[[แอฟริกา]]ซึ่งมีการระบาดของ[[โรคตับอักเสบจากไวรัส]]ตับอักเสบ[[ไวรัสตับอักเสบบี|บี]]และ[[ไวรัสตับอักเสบซี|ซี]]อยู่มาก โรคตับอักเสบจากไวรัสนี้มีส่วนอย่างมากในการทำให้เกิดโรคตับเรื้อรังและนำไปสู่มะเร็งเซลล์ตับในที่สุด


อาการที่นำผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับมาพบแพทย์ในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะท้ายของโรคด้วยอาการปวดท้องด้านบนขวา น้ำหนักลด และมีอาการแสดงของโรคตับที่เป็นมากเกินกว่าร่างกายจะชดเชยได้ ปัจจุบันมะเร็งเซลล์ตับได้รับการตรวจพบในระยะแรกๆ มากขึ้นเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่ทำเป็นประจำในผู้ป่วยตับแข็งโดยใช้ภาพถ่ายรังสีส่วนตัดและการตรวจด้วยระดับ[[อัลฟาฟีโตโปรตีน]]ในเลือด
อาการที่นำผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับมาพบแพทย์ในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะท้ายของโรคด้วยอาการปวดท้องด้านบนขวา น้ำหนักลด และมีอาการแสดงของโรคตับที่เป็นมากเกินกว่าร่างกายจะชดเชยได้ ปัจจุบันมะเร็งเซลล์ตับได้รับการตรวจพบในระยะแรกๆ มากขึ้นเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่ทำเป็นประจำในผู้ป่วยตับแข็งโดยใช้ภาพถ่ายรังสีส่วนตัดและการตรวจด้วยระดับ[[อัลฟาฟีโตโปรตีน]]ในเลือด
==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{reflist|2}}
{{reflist|2}}
[[Category:มะเร็งระบบทางเดินอาหาร]]
[[หมวดหมู่:มะเร็งระบบทางเดินอาหาร]]
[[Category:วิทยาตับ]]
[[หมวดหมู่:วิทยาตับ]]
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}
[[ar:سرطانة الخلية الكبدية]]
[[ar:سرطانة الخلية الكبدية]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:53, 22 กุมภาพันธ์ 2553

มะเร็งเซลล์ตับ
(Hepatocellular carcinoma)
ชิ้นเนื้อจากการผ่าชันสูตรศพแสดงให้เห็นก้อนมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อตับอักเสบซี
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10C22.0
ICD-9155
ICD-O:M8170/3
MedlinePlus000280
eMedicinemed/787
NCIมะเร็งเซลล์ตับ
MeSHD006528

มะเร็งเซลล์ตับ (อังกฤษ: hepatocellular carcinoma - HCC) เป็นมะเร็งที่กำเนิดขึ้นในตับ มะเร็งเซลล์ตับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 จากการเสียชีวิตจากมะเร็งทุกชนิดทั่วโลก โดยมีผู้ป่วยอยู่กว่า 500,000 คน อุบัติการณ์ของมะเร็งเซลล์ตับพบมากในเอเชียและแอฟริกาซึ่งมีการระบาดของโรคตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบบีและซีอยู่มาก โรคตับอักเสบจากไวรัสนี้มีส่วนอย่างมากในการทำให้เกิดโรคตับเรื้อรังและนำไปสู่มะเร็งเซลล์ตับในที่สุด

อาการที่นำผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับมาพบแพทย์ในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะท้ายของโรคด้วยอาการปวดท้องด้านบนขวา น้ำหนักลด และมีอาการแสดงของโรคตับที่เป็นมากเกินกว่าร่างกายจะชดเชยได้ ปัจจุบันมะเร็งเซลล์ตับได้รับการตรวจพบในระยะแรกๆ มากขึ้นเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่ทำเป็นประจำในผู้ป่วยตับแข็งโดยใช้ภาพถ่ายรังสีส่วนตัดและการตรวจด้วยระดับอัลฟาฟีโตโปรตีนในเลือด

อ้างอิง