ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินโผล่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sheliyawan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''หินโผล่''' หรือ outcrop คือชั้นหิน (bedrock) ที่โผล่พ้นผิวดินขึ้นมา บางแห่งถูกปกคลุมด้วย[ตะกอน]พื้นผิว เช่น ตะกอนน้ำพา หรือพวกพืชพรรณต่าง ๆ ทำให้ไม่สามารถเห็นหินโผล่ได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามตะกอนที่คลุมชั้นหินโผล่นี้มักถูกกัดกร่อน (erosion) โดยจะโผล่ให้เห็นได้ง่ายตามบริเวณที่มีอัตราการผุพัง (weathering )สูง เช่น ไหล่เขาที่มีความชัน ขอบฝั่งแม่น้ำ หรือบริเวณที่มีการเคลื่อนตัวของ[[แผ่นเปลือกโลก]] นอกจากนี้ยังเกิดจากการกระทำของมนุษย์เช่นกัน เช่น การขุดถมสร้างถนน
หินโผล่นี้เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเรียงตัวของชั้นหินตะกอนที่สำคัญและใช้ทำแผนที่ธรณีวิทยา (geologic map) รวมทั้งบอกถึงประวัติทางธรณี ณ จุดที่มีหินโผล่ โดยศึกษาโครงสร้างธรณีจากแนวการวางตัวของหินโผล่ ได้แก่ ระนาบชั้นหิน (bedding plane), แกนคดโค้ง (fold axis), การเรียงตังของตะกอน (foliation)


[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]
หินโผล่ หรือ outcrop คือชั้นหิน(bedrock) ที่โผล่พ้นผิวดินขึ้นมา บางแห่งถูกปกคลุมด้วยตะกอนพื้นผิว เช่น ตะกอนน้ำพา หรือพวกพืชพรรณต่าง ๆ ทำให้ไม่สามารถเห็นหินโผล่ได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามตะกอนที่คลุมชั้นหินโผล่นี้มักถูกกัดกร่อน(erosion) โดยจะโผล่ให้เห็นได้ง่ายตามบริเวณที่มีอัตราการผุพัง(weathering)สูง เช่น ไหล่เขาที่มีความชัน ขอบฝั่งแม่น้ำ หรือบริเวณที่มีการเคลื่อนตัวของแผ่นนเปลือกโลก นอกจากนี้ยังเกิดจากการกระทำของมนุษย์เช่นกัน เช่น การขุดถมสร้างถนน
[[en:Outcrop]]
หินโผล่นี้เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเรียงตัวของชั้นหินตะกอนที่สำคัญและใช้ทำแผนที่ธรณีวิทยา(geologic map) รวมทั้งบอกถึงประวัติทางธรณี ณ จุดที่มีหินโผล่ โดยศึกษาโครงสร้างธรณีจากแนวการวางตัวของหินโผล่ ได้แก่ ระนาบชั้นหิน(bedding plane), แกนคดโค้ง(fold axis), การเรียงตังของตะกอน(foliation)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:22, 18 กุมภาพันธ์ 2553

หินโผล่ หรือ outcrop คือชั้นหิน (bedrock) ที่โผล่พ้นผิวดินขึ้นมา บางแห่งถูกปกคลุมด้วย[ตะกอน]พื้นผิว เช่น ตะกอนน้ำพา หรือพวกพืชพรรณต่าง ๆ ทำให้ไม่สามารถเห็นหินโผล่ได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามตะกอนที่คลุมชั้นหินโผล่นี้มักถูกกัดกร่อน (erosion) โดยจะโผล่ให้เห็นได้ง่ายตามบริเวณที่มีอัตราการผุพัง (weathering )สูง เช่น ไหล่เขาที่มีความชัน ขอบฝั่งแม่น้ำ หรือบริเวณที่มีการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก นอกจากนี้ยังเกิดจากการกระทำของมนุษย์เช่นกัน เช่น การขุดถมสร้างถนน หินโผล่นี้เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเรียงตัวของชั้นหินตะกอนที่สำคัญและใช้ทำแผนที่ธรณีวิทยา (geologic map) รวมทั้งบอกถึงประวัติทางธรณี ณ จุดที่มีหินโผล่ โดยศึกษาโครงสร้างธรณีจากแนวการวางตัวของหินโผล่ ได้แก่ ระนาบชั้นหิน (bedding plane), แกนคดโค้ง (fold axis), การเรียงตังของตะกอน (foliation)