ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รหัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikiDreamer Bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bs:Kod
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: cs ลบ: el, es, ko, nl, pt
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


[[bs:Kod]]
[[bs:Kod]]
[[cs:Kód]]
[[da:Kode]]
[[da:Kode]]
[[de:Code]]
[[de:Code]]
[[el:Κώδικας]]
[[en:Code]]
[[en:Code]]
[[eo:Kodo]]
[[eo:Kodo]]
[[es:Código]]
[[fi:Koodi]]
[[fi:Koodi]]
[[fr:Code (information)]]
[[fr:Code (information)]]
บรรทัด 22: บรรทัด 21:
[[it:Codice (teoria dell'informazione)]]
[[it:Codice (teoria dell'informazione)]]
[[ja:符号]]
[[ja:符号]]
[[ko:인코딩]]
[[nl:Code]]
[[no:Kode]]
[[no:Kode]]
[[pl:Kod]]
[[pl:Kod]]
[[pt:Código]]
[[ru:Код]]
[[ru:Код]]
[[simple:Code]]
[[simple:Code]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:13, 3 กุมภาพันธ์ 2553

ในการสื่อสาร รหัส คือ กฎในการแปลงสารสนเทศหนึ่งๆ (เช่น ตัวอักษร, คำ, หรือวลี) ให้อยู่ในรูปแบบหรือลักษณะที่ไม่จำเป็นต้องเหมือนเดิม     ในการสื่อสารและการประมวลผลสารสนเทศ การเข้ารหัส (encoding) คือกระบวนการที่ผู้ให้ข้อมูลทำการแปลงสารสนเทศให้กลายเป็นข้อมูล ที่จะถูกส่งไปยังผู้รับ เช่น ระบบประมวลผลข้อมูล     การถอดรหัส (decoding) คือกระบวนการย้อนกลับในการแปลงข้อมูลที่ได้รับมา ให้เป็นสารสนเทศที่ผู้รับสามารถเข้าใจได้

ในบางสถานที่หรือสถานการณ์ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียนธรรมดานั้น ไม่สามารถเป็นสื่อกลางในการสื่อสารได้ ซึ่งทำให้การเข้ารหัสมีความจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น การสื่อสารทางสายหลายครั้งได้เปลี่ยนคำที่พูดกัน ให้เป็นคำที่สั้นลอง ทำให้ข้อมูลเดียวกันสามารถส่งได้โดยใช้จำนวนอักขระที่น้อยลง รวดเร็วขึ้น และประหยัดขึ้น อีกตัวอย่างเช่นการใช้รูปแบบของธงที่ปักอยู่ในประภาคารสูงเพื่อทำให้คนที่อยู่ในสถานที่ห่างไกล สามารถเข้าใจความหมายและตีความได้

ในวิทยาการเข้ารหัสลับ รหัสถูกนำมาใช้ในการสื่อสารที่ต้องการรักษาความลับ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันรหัสลับได้ถูกนำมาใช้แทน. ดู รหัส (วิทยาการเข้ารหัสลับ)