ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
ชื่อ "ก็อดเดิร์ด" ตั้งเป็นอนุสรณ์แก่ ดร. [[โรเบิร์ต เอช. ก็อดเดิร์ด]] (Robert H. Goddard) ผู้ริเริ่มการใช้งานจรวดสมัยใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ชื่อ "ก็อดเดิร์ด" ตั้งเป็นอนุสรณ์แก่ ดร. [[โรเบิร์ต เอช. ก็อดเดิร์ด]] (Robert H. Goddard) ผู้ริเริ่มการใช้งานจรวดสมัยใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยแห่งนี้ มีคนไทยทำงานเป็นวิศวกร และ นักวิทยาศาสตร์ 3 คน
ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยแห่งนี้ มีคนไทยทำงานเป็นวิศวกร และ นักวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหมด 3 คน
ได้แก่ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น วิศวกรด้านอุปกรณ์คลื่นไมโครเวฟรับส่งสัญญาณ
ได้แก่ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น วิศวกรด้านคลื่นไมโครเวฟรับส่งสัญญาณ


[[หมวดหมู่:นาซา]]
[[หมวดหมู่:นาซา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:44, 28 มกราคม 2553

ภาพถ่ายทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด (อังกฤษ: Goddard Space Flight Center; GSFC) เป็นห้องทดลองด้านอวกาศที่สำคัญแห่งหนึ่งขององค์การนาซา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 เป็นศูนย์การบินอวกาศแห่งแรกของนาซา มีเจ้าหน้าที่พลเรือนประมาณ 10,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ห่างออกไปประมาณ 6.5 ไมล์ ในเขตเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดซึ่งรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมาไว้ด้วยกันเพื่อศึกษาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และเอกภพ โดยอาศัยการสังเกตการณ์ผ่านอุปกรณ์สังเกตการณ์ในอวกาศ รวมถึงเป็นห้องทดลองในการวิจัยพัฒนาและควบคุมการทำงานของยานอวกาศสำหรับงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม นอกเหนือจากงานวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดยังศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานในอวกาศรวมถึงการออกแบบและสร้างยานอวกาศด้วย นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดคนหนึ่งคือ จอห์น ซี. เมเทอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 2006 จากผลงานการสร้างดาวเทียม COBE

ชื่อ "ก็อดเดิร์ด" ตั้งเป็นอนุสรณ์แก่ ดร. โรเบิร์ต เอช. ก็อดเดิร์ด (Robert H. Goddard) ผู้ริเริ่มการใช้งานจรวดสมัยใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา

ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยแห่งนี้ มีคนไทยทำงานเป็นวิศวกร และ นักวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหมด 3 คน ได้แก่ ดร.ก้องภพ อยู่เย็น วิศวกรด้านคลื่นไมโครเวฟรับส่งสัญญาณ