ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัญญาประชาคม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
สัญญาประชาคมหมายถึง ความตกลงร่วมกันของประชาชน กลุ่มผลประโยชน์ร่วมกันหรือกลุ่มคนที่มีแนวความคิดเดียวกัน กับฝ่ายตรงข้าม เพื่อเป็นการแสวงความตกลงและทางออกของปัญหาซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างซึ่งหากปล่อยไว้อาจจะก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม มีนักคิดหลายคนที่ถือว่าเป็นผู้มีส่วนในการริเริ่มแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคม เช่น จอห์น ล๊อค(John Locke)และ โทมัส ฮ๊อบบ์(Thomas Hobbes)ที่มาของแนวคิดเกิดจากสถานการณ์ในช่วงระยะเวลานั้น(ศตวรรษที่ ๑๗,๑๘) ได้มีความพยายามที่จะลดอำนาจกษัตริย์ในเรื่องการเก็บภาษีเอากับประชาชนเพื่อใช้ในการทำศึกสงคราม และพัฒนาต่อมาในเรื่องอื่นๆตามลำดับ
'''สัญญาประชาคม''' หมายถึง ความตกลงร่วมกันของประชาชน กลุ่มผลประโยชน์ร่วมกันหรือกลุ่มคนที่มีแนวความคิดเดียวกัน กับฝ่ายตรงข้าม เพื่อเป็นการแสวงความตกลงและทางออกของปัญหาซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างซึ่งหากปล่อยไว้อาจจะก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม มีนักคิดหลายคนที่ถือว่าเป็นผู้มีส่วนในการริเริ่มแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคม เช่น จอห์น ล๊อค(John Locke)และ โทมัส ฮ๊อบบ์(Thomas Hobbes)ที่มาของแนวคิดเกิดจากสถานการณ์ในช่วงระยะเวลานั้น(ศตวรรษที่ ๑๗,๑๘) ได้มีความพยายามที่จะลดอำนาจกษัตริย์ในเรื่องการเก็บภาษีเอากับประชาชนเพื่อใช้ในการทำศึกสงคราม และพัฒนาต่อมาในเรื่องอื่นๆตามลำดับ

{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:14, 12 กันยายน 2549

สัญญาประชาคม หมายถึง ความตกลงร่วมกันของประชาชน กลุ่มผลประโยชน์ร่วมกันหรือกลุ่มคนที่มีแนวความคิดเดียวกัน กับฝ่ายตรงข้าม เพื่อเป็นการแสวงความตกลงและทางออกของปัญหาซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างซึ่งหากปล่อยไว้อาจจะก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม มีนักคิดหลายคนที่ถือว่าเป็นผู้มีส่วนในการริเริ่มแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคม เช่น จอห์น ล๊อค(John Locke)และ โทมัส ฮ๊อบบ์(Thomas Hobbes)ที่มาของแนวคิดเกิดจากสถานการณ์ในช่วงระยะเวลานั้น(ศตวรรษที่ ๑๗,๑๘) ได้มีความพยายามที่จะลดอำนาจกษัตริย์ในเรื่องการเก็บภาษีเอากับประชาชนเพื่อใช้ในการทำศึกสงคราม และพัฒนาต่อมาในเรื่องอื่นๆตามลำดับ