ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์บอนมอนอกไซด์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ru:Оксид углерода(II)
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 85: บรรทัด 85:
[[lv:Oglekļa monoksīds]]
[[lv:Oglekļa monoksīds]]
[[mk:Јаглерод моноксид]]
[[mk:Јаглерод моноксид]]
[[ml:കാര്‍ബണ്‍ മോണോക്സൈഡ്]]
[[mr:कार्बन मोनॉक्साईड]]
[[mr:कार्बन मोनॉक्साईड]]
[[nds:Kohlenstoffmonoxid]]
[[nds:Kohlenstoffmonoxid]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:06, 23 มกราคม 2553

คาร์บอนมอนอกไซด์
Structure of the carbon monoxide molecule
Structure of the carbon monoxide molecule
Space-filling model of the carbon monoxide molecule
Space-filling model of the carbon monoxide molecule
ชื่อ
IUPAC names
Carbon monooxide
Carbon monoxide
Carbon (II) oxide
ชื่ออื่น
Carbonic oxide
เลขทะเบียน
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.010.118 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 211-128-3
RTECS number
  • FG3500000
UN number 1016
คุณสมบัติ
CO
มวลโมเลกุล 28.010 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colourless, odorless gas
ความหนาแน่น 0.789 g/mL, liquid
1.250 g/L at 0 °C, 1 atm
1.145 g/L at 25 °C, 1 atm
จุดหลอมเหลว -205 °C (68 K)
จุดเดือด -191.5 °C (81 K)
0.0026 g/100 mL (20 °C)
ความสามารถละลายได้ soluble in chloroform, acetic acid, ethyl acetate, ethanol, ammonium hydroxide
0.112 D
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 4: Very short exposure could cause death or major residual injury. E.g. VX gasFlammability 4: Will rapidly or completely vaporize at normal atmospheric pressure and temperature, or is readily dispersed in air and will burn readily. Flash point below 23 °C (73 °F). E.g. propaneInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
4
4
0
จุดวาบไฟ Flammable gas
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

คาร์บอนมอนอกไซด์ มีสูตรทางเคมี "CO" เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส แต่มีความเป็นพิษอย่างร้ายแรง โมเลกุลประกอบไปด้วยคาร์บอนหนึ่งอะตอมและออกซิเจนหนึ่งอะตอมเชื่อมกันด้วยพันธะโควาเลนต์ อาจจัดได้ว่าเป็นสารประกอบแอนไฮไดรด์อย่างหนึ่งของกรดฟอร์มิก

ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบคาร์บอน โดยเฉพาะเครื่องยนต์สันดาปภายใน คาร์บอนมอนออกไซด์จะเกิดได้มากเมื่อออกซิเจนไม่เพียงพอในการสันดาป คาร์บอนมอนอกไซด์สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ เผาไหม้ในอากาศจะเกิดเปลวเพลิงสีน้ำเงินและให้คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา แม้ว่าจะมีความเป็นพิษอย่างร้ายแรงคาร์บอนมอนออกไซด์ก็มีประโยชน์ในโลกปัจจุบันอย่างมากเพราะเป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อย่างอื่นนานาชนิด