ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ[[หุ่นกระบอก]] ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>
'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ[[หุ่นกระบอก]] ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>


ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่ให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ "จหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"
ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่อให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ "จหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"


ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549
ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:16, 23 มกราคม 2553

หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์

โจหลุยส์ หรือ นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือหุ่นกระบอก ของอาจารย์สาคร ยังเขียวสด หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ "มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"[1]

ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่อให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ "จหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"

ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณสวนลุมไนท์บาซาร์ ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น