ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากอกบอรอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MastiBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pl:Kokborok
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pl:Język kokborok; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
!&nbsp;||Labial||Dental||Apico-<br />Alveolar||Lamino-<br />Postalveolar||Velar||Glottal
!&nbsp;||Labial||Dental||Apico-<br />Alveolar||Lamino-<br />Postalveolar||Velar||Glottal
|-style="text-align:center"
|-style="text-align:center"
!ไม่ก้อง<br>กัก
!ไม่ก้อง<br />กัก
|{{IPA|p}}<br/>{{IPA|pʰ}}||{{IPA|t̪}}<br/>{{IPA|t̪ʰ}}||&nbsp;||{{IPA|ʧ}}|| {{IPA|k}}<br/>{{IPA|kʰ}}||&nbsp;
|{{IPA|p}}<br />{{IPA|pʰ}}||{{IPA|t̪}}<br />{{IPA|t̪ʰ}}||&nbsp;||{{IPA|ʧ}}|| {{IPA|k}}<br />{{IPA|kʰ}}||&nbsp;
|-style="text-align:center"
|-style="text-align:center"
!ก้อง<br>กัก
!ก้อง<br />กัก
|{{IPA|b}}||{{IPA|d̪}}||&nbsp;||{{IPA|ʤ}}||{{IPA|ɡ}}||&nbsp;
|{{IPA|b}}||{{IPA|d̪}}||&nbsp;||{{IPA|ʤ}}||{{IPA|ɡ}}||&nbsp;
|-style="text-align:center"
|-style="text-align:center"
!ไม่ก้อง<br>เสียงเสียดแทรก
!ไม่ก้อง<br />เสียงเสียดแทรก
|&nbsp;||&nbsp;||{{IPA|s}}||&nbsp;||&nbsp;||{{IPA|h}}
|&nbsp;||&nbsp;||{{IPA|s}}||&nbsp;||&nbsp;||{{IPA|h}}
|-style="text-align:center"
|-style="text-align:center"
บรรทัด 94: บรรทัด 94:
== สำเนียง ==
== สำเนียง ==


ชุมชนชาวตรีปุระประกอบด้วยเผ่าและเผ่าย่อยมากมายกระจายอยู่ใน[[รัฐตรีปุระ]] อัสสัม[[ ไมโซรัม]] และจังหวัดใกล้เคียงในบังกลาเทศโดยเฉพาะบริเวณ[[จิตตะกอง]] เผ่าหลักๆจะมีสำเนียงเป็นของตนเอง ที่มีความแตกต่างระหว่างกันเล็กน้อย สำเนียงตะวันตกที่ใช้พูดบริเวณเมืองหลวงอาร์คาตาลาที่พูดโดยเผ่าเดบบาร์มาเป็นสำเนียงมาตรฐานที่ใช้ในโรงเรียนและการเขียนและเป็นที่เข้าใจโดยั่วไปในฐานะภาษากลางของชาวตรีปุระในระหวางหุบเขา มีการใช้ภาษานี้สอนในมหาวิทยาลัยในระดับบัณฑิตศึกษา
ชุมชนชาวตรีปุระประกอบด้วยเผ่าและเผ่าย่อยมากมายกระจายอยู่ใน[[รัฐตรีปุระ]] อัสสัม [[ไมโซรัม]] และจังหวัดใกล้เคียงในบังกลาเทศโดยเฉพาะบริเวณ[[จิตตะกอง]] เผ่าหลักๆจะมีสำเนียงเป็นของตนเอง ที่มีความแตกต่างระหว่างกันเล็กน้อย สำเนียงตะวันตกที่ใช้พูดบริเวณเมืองหลวงอาร์คาตาลาที่พูดโดยเผ่าเดบบาร์มาเป็นสำเนียงมาตรฐานที่ใช้ในโรงเรียนและการเขียนและเป็นที่เข้าใจโดยั่วไปในฐานะภาษากลางของชาวตรีปุระในระหวางหุบเขา มีการใช้ภาษานี้สอนในมหาวิทยาลัยในระดับบัณฑิตศึกษา


== การเขียน ==
== การเขียน ==
บรรทัด 120: บรรทัด 120:
{{ทิเบต-พม่า}}
{{ทิเบต-พม่า}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}

[[หมวดหมู่:ภาษากอกบอรอก| ]]
[[หมวดหมู่:ภาษากอกบอรอก| ]]


บรรทัด 126: บรรทัด 127:
[[en:Kokborok language]]
[[en:Kokborok language]]
[[la:Lingua Kokborok]]
[[la:Lingua Kokborok]]
[[pl:Kokborok]]
[[pl:Język kokborok]]
[[pms:Lenga Kok Borok]]
[[pms:Lenga Kok Borok]]
[[simple:Kokborok language]]
[[simple:Kokborok language]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:47, 18 มกราคม 2553

ภาษากอกบอรอก
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย และ บังกลาเทศ
ภูมิภาครัฐตริปุระ รัฐอัสสัม รัฐมิโซรัม และประเทศบังกลาเทศ
จำนวนผู้พูด800,000 658,000 ในอินเดีย (2537) ; 105,000 ในบังกลาเทศ (2536)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรกอลอมา (เลิกใช้) อักษรเบงกาลี อักษรละติน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการตรีปุระ (อินเดีย)
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3trp

ภาษากอกบอรอก เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกโบรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกบอรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”

ประวัติ

ภาษากอกบอรอกเริ่มปรากฏในหลากหลายรูปแบบตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 เมื่อเริ่มมีพงศาวดารของกษัตริย์ตรีปุระ ซึ่งมีชื่อเรียกว่าราชรัตนกิจ เขียนด้วยภาษากอกบอรอก อักษรที่ใช้เขียนภาษากอกบอรอกเรียกว่าอักษรกอลอมา ผู้เขียนคือ คุรลอเบนดรา ชอนไต

ในเวลาต่อมา มีพราหมณ์ 2 คน คือ สุเกรสวัร และวเนศวัร ได้แปลพงศาวดารนี้เป็นภาษาสันสกฤตและแปลต่อเป็นภาษาเบงกาลีเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ส่วนฉบับเดิมที่เขียนด้วยภาษากอกบอรอกสูญหายไป ภาษากอกบอรอกถูกลดฐานะเป็นเพียงภาษาทั่วไปของสามัญชนตลอดสมัยราชอาณาจักรตรีปุระ ในขณะที่ภาษาเบงกาลีเป็นภาษาราชการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 ภาษากอกบอรอกเป็นภาษาราชการของรัฐตรีปุระเมื่อ พ.ศ. 2522 ปัจจุบันถือเป็นภาษาประจำชาติภาษาหนึ่งของอินเดีย

ไวยากรณ์

บทความหลัก:ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก

การจัดจำแนกและภาษาใกล้เคียง

ภาษากอกบอรอกจัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีความใกล้เคียงกับภาษาโบโด และภาษาดิมาซา ในรัฐอัสสัม รวมทั้งภาษากาโรที่ใช้พูดในบังกลาเทศ

ระบบเสียง

โดยส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ดังนี้

สระ

มี 6 เสียง คือ a e i o u และ w (อา เอ อี ออ อู และ อือ ตามลำดับ) เสียง w ใกล้เคียงกับเสียง ü ในภาษาเยอรมัน และเสียง u ในภาษาฝรั่งเศส

สระ
  หน้า กลาง หลัง
สูง i,y   u
สูง-กลาง e    
ต่ำ-กลาง     ɔ
ต่ำ a    

พยัญชนะ

ประกอบด้วยเสียง b d g h j k l m n p r s t y ch kh ph th ng

พยัญชนะ
  Labial Dental Apico-
Alveolar
Lamino-
Postalveolar
Velar Glottal
ไม่ก้อง
กัก
p

t̪ʰ
  ʧ k
 
ก้อง
กัก
b   ʤ ɡ  
ไม่ก้อง
เสียงเสียดแทรก
    s     h
นาสิก m   n   ŋ  
เสียงกึ่งสระ     l, r      

สระประสม

ได้แก ai wi ui oi (อัย อืย อุย และออย ตามลำดับ)

พยางค์

คำส่วนใหญ่เกิดจากการรวมรากศัพท์กับปัจจัยหรืออุปสรรค ตัวอย่างเช่น

  • Kuchuk (กูชุก) มาจากรากศัพท์ chuk หมายถึงสูง รวมกับอุปสรรค ku

ไม่มีคำในภาษากอกบอรอกที่ขึ้นต้นด้วย ng ตำแหน่งท้ายพยางค์จะมีสระอะไรก็ได้ยกเว้น w พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้ คือ p k m n ng r l เสียง y ที่เป็นตัวสะกดมักพบในสระประสม เช่น ai wi

กลุ่มพยัญชนะ

กลุ่มของพยัญชนะที่พบในภาษากอกบอรอกมักเป็นเสียงควบกล้ำของ r หรือ l กับพยัญชนะอื่น เช่น p หรือ ph

วรรณยุกต์

มีสองเสียงคือเสียงสูงและเสียงต่ำ เสียงสูงแสดงโดยเติม h หลังสระ เช่น Lai (ไล) = ง่าย laih (ไหล) = ข้าม Cha (ชา) = ถูก Chah (ฉา) = กิน

สำเนียง

ชุมชนชาวตรีปุระประกอบด้วยเผ่าและเผ่าย่อยมากมายกระจายอยู่ในรัฐตรีปุระ อัสสัม ไมโซรัม และจังหวัดใกล้เคียงในบังกลาเทศโดยเฉพาะบริเวณจิตตะกอง เผ่าหลักๆจะมีสำเนียงเป็นของตนเอง ที่มีความแตกต่างระหว่างกันเล็กน้อย สำเนียงตะวันตกที่ใช้พูดบริเวณเมืองหลวงอาร์คาตาลาที่พูดโดยเผ่าเดบบาร์มาเป็นสำเนียงมาตรฐานที่ใช้ในโรงเรียนและการเขียนและเป็นที่เข้าใจโดยั่วไปในฐานะภาษากลางของชาวตรีปุระในระหวางหุบเขา มีการใช้ภาษานี้สอนในมหาวิทยาลัยในระดับบัณฑิตศึกษา

การเขียน

ภาษากอกบอรอกมีอักษรเป็นของตนเองเรียกกอลอมาซึ่งสาบสูญไปแล้ว ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 ราชอาณาจักรตรีปุระใช้อักษรเบงกาลีเขียนภาษากอกบอรอก ตั้งแต่อินเดียได้รับเอกราชและตรีปุระเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย มีการใช้อักษรโรมันโดยเฉพาะในองค์กรอกชน ปัญหาการใช้ตัวอักษรเป็นปัญหาการเมืองในตรีปุระ โดยฝ่ายซ้ายเสนอให้ใช้อักษรเบงกาลี ในขณะที่ชาวคริสต์สนับสนุนให้ใช้อักษรโรมัน ปัจจุบันคงมีการใช้อักษรสองชนิดควบคู่กัน

ตัวเลข

มีทั้งเลขฐาน 10 และเลขฐาน 20 การนับเลขได้แก่

sa = 1; nwi = 2; tham = 3; brwi = 4; ba = 5; dok = 6; sni = 7; char = 8; chuku =9; chi = 10; rasa = 100; saisa = 1,000 rwjag = 100,000; chisa = 10 + 1 = 11

อ้างอิง

  • Pushpa Pai (Karapurkar). 1976. Kokborok Grammar. (CIIL Grammar series ; 3). Mysore: Central Inst. of Indian Languages.
  • Dr. François Jacquesson. 2003. Kokborok, a short analysis. [2] Paris.
  • Binoy Debbarma. 2002. Anglo-Kokborok-Bengali Dictionary. 2nd edition. Agartala: Kokborok Tei Hukumu Mission (KOHM).

แหล่งข้อมูลอื่น